เอโส : ค. นี้, นั่น, นั้น
เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
อตฺร : (อัพ. นิบาต) ในนี้. อิม+ตฺร ปัจ. แปลงอิม เป็น อ.ใน...นั่น. เอต+ตฺร ปัจ.แปลงเอตเป็นอ.
เอต : (ไตรลิงค์) นั่น. ส. เอตตฺ.
เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
ตตฺถ, ตตฺร : อ. ที่นั่น, ในเหตุนั้น
ตถตฺตา : (อัพ. นิบาต) เพียงนั้นนั่นเทียว, เหมือนกัน, ฉันนั้น. ตถา+อิว รฺ อาคม.
ตถา เอว ตเถว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น นั่นเที่ยว, เหมือนอย่างนั้น.
ตเถว : อ. ฉันนั้นแล, ในทำนองเดียวกัน, เหมือนกันนั่นแหละ
ตปธน : (วิ.) ผู้มีศัพท์คือตบะ, ผู้มีตบะนั่น แหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตาปธโน. ฉ.พหุห.
ตาวตึสเทวนคร : (นปุ.) นครแห่งเทวดาชื่อ ดาวดึงส์. ฉ. ตัป. มี สัม. กัม. เป็นท้อง. ตาวเทว ( อัพ. นิบาตท ) เพียงนั้นนั่นเทียว. ตาว+เอว ทฺ อาคม.
ตาวเทว : อ. เพียงนั้นนั่นเทียว, ในขณะนั้น; บัดนั้น
ปุพฺเพว : (อัพ. นิบาต) ก่อนนั่นเทียว.
ภวตณฺหา : (อิต.) ความอยากในความมี, ความอยากในความเป็น, ความอยากในความเกิด, ความปรารถนาในความมี, ฯลฯ, ความอยากมี, ฯลฯ, ตัณหาเป็นไปในภพ, ตัณหาในภพ, ความกำหนัดแห่งจิตอันสหรคตด้วยภวทิฏฐิ, ความอยากเป็นอยู่ในภพ, ความอยากเป็นนั่นเป็นนี่.
ยถริว : (อัพ. นิบาต) ฉันใด, เพียงใดนั่นเทียว.
ยาวเทว : (อัพ. นิบาต) เพียงไรนั่นเทียว, เพียงใดนั้นเทียว.
อโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั่น, เอต+โตปัจ. แปลง เอต เป็น อแต่...นี้, แต่นี้.อิม+โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อเพราะเหตุนั้นก็แปล.
อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
เอตฺต : ก. วิ. ที่นั่น, ที่นี่
เอตโต : (อัพ. นิบาต) ข้างนั่น, ข้างนั้น.
เอโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั้น. เอต+โต ปัจ แปลง เอต เป็น เอ. ข้างโน้น. อมุ+โต แปลง อมุ เป็น เอ.
เอวเมว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นนั่นเทียว, ฉัน นั้นเหมือนกัน, ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
ธุ (ธู) นน : นป. การสบัด, การหวั่นไหว, การกำจัด, การทำลายละ (กิเลส)
นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
นูน : อ. แน่
อชานน : ป., นป. ความไม่รู้, อวิชชา
กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
ตุลิกา : (อิต.) นุ่น, ฟูกอันบุคคลยัดแล้วด้วย นุ่น, ฟูกยัดนุ่น.
ตูล : (ปุ. นปุ.) นุ่น, สำลี, ฝ้าย. ตูลฺ นิกฺกรีเส, อ.
เตล : (นปุ.) น้ำมัน, ( ที่ได้จากพืชและเนื้อสัตว์ ไขสัตว์) , น้ำมันงา ( ได้จากงา ). ติลฺ สิเนหเณ, โณ. แปลว่า สำลี นุ่น ฝ้าย ก็มี. ส. ไตล.
ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
ปรณฺณ : (นปุ.) พืชอื่นจากข้าว ( คือถั่ว ), ถั่ว ( ต่างๆ ). ปร+อนฺน แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
สมฺพาธ : (วิ.) แคบ, คับแคบ, เบียดเสียด, ยัดเยียด, แน่น, อัดแอ, แออัด.
อติสมฺพาธ : ค. แคบยิ่ง, แคบมาก, แน่น
อมุ, อมุก : ส. โน่น, โน้น
อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.