กุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบัณฑิตเกลียด, กรรม น่าเกลียด, กรรมชั่ว. กุจฺฉิต+กมฺม.
คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
เทสฺส : ๑. ป. ข้าศึก, ศัตรู;
๒. ค. น่ารังเกียจ, น่าเกลียด, น่าชัง
ปฏิกูล : ค., นป. ปฏิกูล, น่าเกลียด, น่ารังเกียจ, ซึ่งขัดแย้ง; ความเป็นของน่ารังเกียจ, ความเป็นของไม่สะอาด
พีภจฺฉ : (วิ.) น่าเกลียด, น่ากลัว, เป็นแดนกลัว, อันพึงกลัว.
วิรูป : ค. น่าเกลียด, พิการ, ผิดรูป
สามิ : (อัพ. นิบาต) กึ่ง, ครึ่ง, น่าเกลียด, อันพึงเกลียด. ส. สามิ.
อกนฺต : (วิ.) ไม่งาม, น่าเกลียด, ไม่น่าปรารถนา, ไม่น่าใคร่.
อปฺปิย : (วิ.) มิใช่บุคคลอันบุคคลพึงรัก, มิใช่ผู้อันบุคคลพึงรัก, มิใช่สัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก, มิใช่เป็นที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ชั่วช้า, ต่ำช้า, อัปรย์ (ไม่น่ารัก น่าเกลียด)ส. อปฺริย.
อวภูต : ค. ต่ำ, ไม่มีค่า, น่าเกลียด, ปรากฏ
อวลกฺขณ : ค. น่าเกลียด, มีลักษณะน่าเกลียด
อโสภณ : ค. ไม่สวยงาม, น่าเกลียด