Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นิทฺ , then นท, นิทฺ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นิทฺ, 81 found, display 1-50
  1. นิทฺทรถ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งความเร่าร้อน, ฯลฯ, วิ. ทรถานํ อภาโว นิทฺทรถํ.
  2. นิทฺทา : (อิต.) การหลับ, การนอน, การนอน หลับ, ความหลับ. นิปุพฺโพ, ทา สุปเน, อ. ทฺสํโยโค. นินฺทฺ ครหายํ วา, โท, นฺโลโป, อิตฺถิยํ อา. ส. นิทฺรา.
  3. นิทฺทายน : (นปุ.) การประพฤติซึ่งความหลับ (กำลังนอนหลับ), ความหลับ. นิทฺทา + อาย+ยุ ปัจ.
  4. นิทฺทาลุ นิทฺทาลู นิทฺทาสีล : (วิ.) มีปกตินอน (นอนมาก), เกียจคร้าน. นิทฺทา+อาลุ, อาลู ปัจ. นิทฺทา+สีล. ส. นิทฺราลุ, นิทฺราศีล.
  5. นิทฺทาสีลี : ค. ดู นิทฺทาลุ
  6. นิทฺธมน : นป., นิทฺธมนา อิต. การขจัดออก, การระบายออก, การทดน้ำ; คลอง, เหมือง
  7. นิทฺธารณ : (นปุ.) การนำออกแล้วทรงไว้ วิ. นีหริตฺวา ธารณํ นิทฺธารณํ. ลบบทหน้า เหลือ นี แล้ว รัสสะ ซ้อน ทฺ.
  8. นิทฺทกฺขย : (วิ.) สิ้นความหลับ, ตื่น.
  9. นิทฺทนฺต : นป. ความหลับ
  10. นิทฺทร : ค. ไม่มีความกระวนกระวาย, ไม่เดือดร้อน, ไม่มีความทุกข์, ปราศจากความกลัว
  11. นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
  12. นิทฺทรราม : (วิ.) มีความหลับเป็นที่มายินดี, ฯลฯ.
  13. นิทฺทาณ : (นปุ.) การหลับ, ฯลฯ, ความหลับ, ฯลฯ.
  14. นิทฺทาน : นป. การตัดขาด, การเอาออก, การโยกย้าย, การทำลาย
  15. นิทฺทายติ : ก. ประพฤติหลับ, หลับ, นอนหลับ
  16. นิทฺทายนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ประพฤติซึ่ง ความหลับ (เวลากำลังนอนหลับ).
  17. นิทฺทายิตุ : ค. คนนอนหลับ
  18. นิทฺทาราม : ค. ผู้ยินดีด้วยการนอน, ผู้พอใจในการนอน
  19. นิทฺทารามตา : อิต. ความเป็นผู้ยินดีในการนอน, ความมักมากในการนอน
  20. นิทฺทารุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้นอนหลับ, ความหลับ ของต้นไม้ (ความมืด กลางคืน).
  21. นิทฺทุกข : (วิ.) มีทุกข์ออกแล้ว นิกฺขนฺต+ทฺข, ออกแล้วจากทุกข์ ทุกฺข+นิกฺขนฺต ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบท เอาไปไว้หน้า, ไม่มี ทุกข์, ปราศจากทุกข์, นิรทุกข์.
  22. นิทฺทุกฺข : ค. ไม่มีความทุกข์, หมดความเดือดร้อน
  23. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  24. นิทฺโทส : (วิ.) มีโทษออกแล้ว, ไม่มีโทษ, ปราศจากโทษ, ออกแล้วจากโทษ, นิรโทษ. ส. นิรฺโทษ.
  25. นิทฺธน : (วิ.) มีทรัพย์ออกแล้ว, ไม่มีทรัพย์, จน, เข็ญใจ, ไร้ทรัพย์. ส. นิธน.
  26. นิทฺธนฺต : ค. ซึ่งขจัดแล้ว, ถูกปัดเป่าออกแล้ว, ซึ่งสะอาด
  27. นิทฺธนมน : (ปุ.) ท่อ, ท่อระบาย.
  28. นิทฺธมติ : ก. ขจัดออก, ปัดออก, เป่าออก, สะอาด, บริสุทธิ์
  29. นิทฺธูปน : ค. ซึ่งไม่มีกลิ่นหอม, ซึ่งไม่อบกลิ่น, ซึ่งไม่รมควัน
  30. นท : (ปุ.) บุคคลผู้บันลือ, บุคคลผู้ร้อง, การบันลือ, ฯลฯ, แม่น้ำ, ลำน้ำ, นทฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ . ส. นท แม่น้ำ.
  31. ปฏินิทฺเทส : ป. การกลับชี้แจง, การวกกลับมาอธิบายเรื่องใหม่อีก
  32. อุทกนิทฺธมน : (ปุ.?) ท่อระบายน้ำ.
  33. นิทาน : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล, เหตุเป็นแดนมอบให้ซึ่งผล, เหตุอันเป็น มูลเค้า, เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, ต้นเหตุ, เรื่องเดิม, เรื่อง. วิ. นิทียเต นิจฺฉียเต อเนเนติ นิทานํ. นิทฺทาติ ผลนฺติ วา นิทานํ นิปุพฺโพ, ทา ทาเน, ย. ส. นิทาน.
  34. มาริส : (ปุ.) เจ้า, ท่าน, ท่านผู้เช่นเรา, ท่านผู้หาทุกข์มิได้, ท่านผู้นิรทุกข์, ท่านผู้เว้นจากทุกข์ (นิทฺทุกฺข ทุกฺขรหิต) . ศัพท์นี้มีอยู่ในกลุ่มคำ มาทิกฺข แล้ว ที่แยกไว้อีกนี้ เพราะคำนี้มักใช้เป็น อาลปนะ.
  35. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  36. สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
  37. ชมฺพุ (พู) นท : นป. ทองชมพูนุท, ทองเนื้อดี
  38. นทติ : ก. บันลือ, แผดเสียง, คำราม, ร้อง
  39. โกกนท โกกนุท : (นปุ.)บัวแดง,โกกนุท.วิ.โกเก นาทยตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.โกกปุพฺโพ, นทฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ.อภิฯ ลง ณ ปัจ. เก กนตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โท, อสฺโส. ส. โกกนท.
  40. ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
  41. ชมฺโพนท : นป. ดู ชมฺพุนท
  42. นที : (อิต.) แม่น้ำ, นัทรี, วิ. อภิฤขณํ นทตีติ นที, ส. นที.
  43. นินท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นโท นินโท. ส. นินท.
  44. โกกนท : นป. บัวแดง
  45. โกกนทพนฺธุ : ป. พระอาทิตย์
  46. ชมฺพูนท : (อิต.) แม่น้ำชมพู.
  47. ตม (โม) นุท : ค. ผู้บรรเทาความมืด, ผู้ขจัดความมืด
  48. นิท : ป. ยาพิษ
  49. นินท, นินาท : ป. เสียง
  50. นุท : ค. ไล่ออกไป
  51. [1-50] | 51-81

(0.0222 sec)