Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นิพพานธาตุ, นิพพาน, ธาตุ , then ธาต, ธาตุ, นพพาน, นพพานธาต, นิพพาน, นิพฺพาน, นิพพานธาตุ, นิพฺพานธาตุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นิพพานธาตุ, 537 found, display 1-50
  1. ธาตุ : (วิ.) ผู้ทรงไว้. ธา ธารเณ, ดุ. ผู้ตั้งไว้, ผู้ดำรงอยู่. ฐา คตินิวุตฺติยํ, ตุ. แปลง ฐา เป็น ธา.
  2. นิพฺพานธาตุ : อิต. นิพพานธาตุ, ธาตุแห่งความสงบเย็น
  3. นิพฺพาน : นป. ดู นิพฺพาณ
  4. อมตธาตุ : อิต. พระนิพพานธาตุ, ธาตุแห่งพระนิพพาน
  5. อสงฺขตธาตุ : (นปุ.) อสังขตธาตุชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  6. ธาตุ : ค. มีธาตุ, ประกอบด้วยธาตุ
  7. ธาตุกถา : อิต. ธาตุกถา, อธิบายเกี่ยวกับเรื่องธาตุ, ชื่อคัมภีร์อภิธรรมเล่มที่สาม
  8. ธาตุกุสล : ค. ผู้ฉลาดหลักแหลมในเรื่องธาตุ
  9. ธาตุโขภ : ป. ความกำเริบแห่งธาตุ
  10. ธาตุฆร : นป. ที่บรรจุพระธาตุ, เรือนพระธาตุ
  11. ธาตุเจติย : (นปุ.) เจดีย์อันบุคคลบรรจุพระ ธาตุ, เจดีย์บรรจุพระธาตุ.
  12. ธาตุนานตฺต : นป. ความเป็นต่างๆ กันแห่งธรรมชาติหรือธาตุ
  13. ธาตุวิภาค : ป. การแยกธาตุ, การจำแนกธาตุ; การแจกหรือแบ่งพระธาตุ
  14. ธาตุสณฺณา : (อิต.) ความสำคัญว่าธาตุ, ความรู้ว่าธาตุ, ความหมายรู้ว่าธาตุ, ความกำหนดว่าธาตุ.
  15. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  16. ธาตุกุจฺจิ : อิต. มดลูก
  17. ธาตุปล : (นปุ.) ดินสอพอง.
  18. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  19. มนฺธาตุ : (ปุ.) มันธาตุ ชื่อของพระราชา, พระราชาพระนามว่ามันธาตุ, พระเจ้ามันธาตุราช ชื่อของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งสามารถบันดานให้ฝนตกเป็น กหาปณะ มํ+ธาตุ (ผู้ทรงไว้ซึ่งสิริ).
  20. กามธาตุ : อิต. กามธาตุ, ธาตุแห่งกาม, โลกที่ยังเกี่ยวข้องอยู่ด้วยการเสพกาม
  21. กายธาตุ : อิต. กายธาตุ, หมวดกาย, ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายคือ ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ
  22. เกสธาตุ : อิต. ธาตุคือพระเกศ, พระเกศธาตุ (ของพระพุทธเจ้า)
  23. ขนฺธธาตุอายตนาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วย ธรรมมีขันธ์และธาตุและอายตนะเป็นต้น. เป็น ต.ตัป. มี ส. ทวัน. และ ฉ. ตลุ เป็นท้อง.
  24. คนฺธธาตุ : อิต. คันธธาตุ, ของหอม
  25. ฆานธาตุ : อิต. ฆานธาตุ, ธาตุแห่งการรับรู้กลิ่น
  26. จกฺขุธาตุ : (ปุ. นปุ.) ธาตุคือตา. หมายเอาแววตา ประสาทตา.
  27. จตุธาตุววฏฐาน : (นปุ.) การกำหนดซึ่งธาตุสี่, ความกำหนดธาตุสี่.
  28. เตชธาตุ : อิต. ธาตุไฟ
  29. เตธาตุ : นป. (โลก) อันประกอบด้วยธาตุสามอย่าง
  30. นิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้น, ความหมดกิเลส, อรหัต, นิพพาน
  31. นิโรธธาตุ : อิต. นิโรธธาตุ, ความดับ
  32. ปฐวีธาตุ : อิต. ปฐวีธาตุ, ธาติดิน, ธาตุที่เข้มแข็ง, ธาตุที่กินเนื้อที่, ของแข็ง
  33. ปาร : นป. ฝั่งอื่น, ฝั่งโน้น; นิพพาน
  34. มโนธาตุ : อิต. พลังแห่งใจ, มโนธาตุ
  35. อรูปธาตุ : อิต. อรูปธาตุ, สภาพที่ไม่มีตัวตน
  36. อากาสธาตุ : อิต. อากาศธาตุ, ที่ว่าง, สภาพที่ว่างเปล่า
  37. อาโปธาตุ : (ปุ. นปุ.) ธาตุน้ำ.เมื่อลบวิภัติแล้วเอาอเป็นโอ.รูปฯ ๔๘.
  38. คิริธาตุ : ป. พื้นดินสีแดง, หินทราย
  39. ทาฐาธาตุ : อิต. พระเขี้ยวแก้ว (ของพระพุทธเจ้า)
  40. ธมฺมธาตุ : (ปุ.) ชนผู้ทรงไว้ซึ่งธรรม, พระ ธรรมธาดา หมายเอาพระบรมศาสดา.
  41. ธาต : ค. อันเขาเลี้ยงดูแล้ว
  42. ปฏิสนฺธาตุ : ป. เชื่อมสัมพันธ์, ผู้สมาน, ผู้ไกล่เกลี่ย
  43. พธิรธาตุ : ค. ผู้หูหนวกมาแต่กำเนิด
  44. สนฺธาตุ : ป. ผู้คืนดีกัน
  45. กกุธ : (ปุ.) ไม้รกฟ้าขาว, ไม้กุ่ม. วิ. กํ วาตํ กุฏติ นิวาเรตีติ กกุโธ. เอกักขรโกสฎีกา. อภิฯ และ เวสฯ เป็น กกฺ ธาตุ อุธ ปัจ. แปลว่า ไม้รังไก่ ก็มี.
  46. กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
  47. กปฺปิต : (วิ.) มีการตกแต่งเกิดแล้ว วิ. กปฺปา กปฺปนา สญฺชาตา ยสฺมึ โส กปฺปิโต. ชาตตฺเถ อิโต. อันแต่งแล้ว. กปฺปฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
  48. กรก : (ปุ.) ทับทิม, ต้นทับทิม, คนโทน้ำ, ภาชนะน้ำของนักบวช, กรก, ธมกรก (กระบอกกรองน้ำของพระ), กะลา. กรฺ ธาตุ ณฺวุ ปัจ. ส. กรก.
  49. กิณ : (นปุ.) การซื้อ. กี ธาตุ ณา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์ รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๖๓๐.
  50. กิริย กฺริย : (นปุ.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา, กริยา. วิ. กรณียํ กิริยํ. กิริยา วา กิริยํ. กรฺ ธาตุ ริริย ปัจ. ลบ รฺรฺ ของปัจ. รูปฯ ๕๘๕ ศัพท์หลัง ลบ อ ที่ ก และลบ อิ ตัวต้นของ ปัจ. หรือลง อิย ปัจ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-537

(0.0768 sec)