Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นิพพาน , then นพพาน, นิพพาน, นิพฺพาน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นิพพาน, 88 found, display 1-50
  1. นิพฺพาน : นป. ดู นิพฺพาณ
  2. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  3. นิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้น, ความหมดกิเลส, อรหัต, นิพพาน
  4. ปาร : นป. ฝั่งอื่น, ฝั่งโน้น; นิพพาน
  5. จตุพฺพคฺค : ป. หมวดแห่งวัตถุสี่ที่มนุษย์ต้องการ ๑. ธมฺม - สมาจาร ๒. กาม - สุข ๓. อตฺถ - ปัจจัย ๔. โมกฺข - นิพพาน
  6. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  7. นิโรธ : (ปุ.) นิโรธ ชื่อของพระนิพพาน, พระ นิพพาน. วิ. นิรุชฺฌนฺติ ยตฺถ ราคาทโยติ นิโรโธ. โรโธ เอตฺถ นตฺถีติ วา นิโรโธ.
  8. ปท : (นปุ.) ปทะ ชื่อของพระนิพพาน, พระ นิพพาน. วิ. อริเยหิ ปฏิปชฺชิตพฺพตฺตา คนฺตพฺพตฺตา ปทํ.
  9. สุคต : (ปุ.) พระผู้ดำเนินไปดี พระผู้ดำเนินไปงาน วิ. สุนฺทโร คโต สุคโต. พระผู้ตรัสดี วิ. สุฏฐ คทตีติ สุคโต. สุฏฐปุพฺโพ, คทฺวิยตฺติยํ วาจายํ, อ, ทสฺส โต. พระผู้ทรงบรรลุฐานะอันงาน วิ. สุนฺทรํ ฐานํ คจฺฉตีติ สุคโต. พระผู้ทรงบรรลุพระนิพพานอันงาม วิ. สุนฺทรํ นิพฺพานํ คจฺฉตีติ สุคโต. คมฺคติยํ, โต, มโลโป. พระผู้เสด็จมาดี วิ. สมฺมา อาคโต สุคโต. ลบมฺมาและอา แปลง อ ที่ ส เป็น อุ. พระสุคต พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงทรงนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. ส.สุคต.
  10. โสต : (วิ.) อันยังกิเลสให้แห้ง วิ. กิเลเส โสสาเปตีติ โสโต. สุสฺ โสสเน, โณ, อุสฺโส, สสฺส โต. อันกำจัดกิเลส วิ. สุนาติ กิเลเส หึสตีติ โสโต. สุ คติยํ, โต. ถึงซึ่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ วิ. สวติ โสตํ นาม นิพฺพานํ คจฺฉตีติ โสโต. ถึงซึ่งพระกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ วิ. สวติ โสตํ นาม นิพพานโสตํ คจฺฉตีติ โสโต.
  11. กิเลสวูปสมนนิพฺพานรติ : (อิต.) ความยินดี ในพระนิพพานอันเป็นเครื่องเข้าไประงับ ซึ่งกิเลส.
  12. โกฏิคต : ค. ผู้ถึงที่สุด, ผู้บรรลุพระนิพพาน
  13. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  14. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  15. ญายปฏิปนฺน : (วิ.) ถึงเฉพาะแล้วซึ่งธรรม เป็นเครื่องออกไป, ถึงเฉพาะแล้วซึ่ง ธรรมอันควร, ปฏิบัติควร, ปฏิบัติเพื่อ พระนิพพาน.
  16. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  17. ตณฺหกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งตัณหา ( หาย อยาก ) ความสิ้นไปแห่งตัณหา, ธรรม เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา, ตัณหักขยะ ชื่อ ของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  18. ติณฺณ : กิต. ข้ามแล้ว, พ้นแล้ว, ผู้ถึงที่สุดทุกข์, ผู้บรรลุนิพพาน
  19. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  20. ถล : (นปุ.) ถละ ชื่อของบรรพชา ชื่อของพระ นิพพานเพราะห้วงน้ำคือกิเลสไม่ท่วมทับ, บก, ดอน, ที่บก, ที่ดอน. ถลฺ ฐาเน, อ. ฐา คตินิวุตฺติยํ วา, โล. แปลง ฐ เป็น ถ.
  21. ทนฺตภูมิ : อิต. ภูมิแห่งบุคคลผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ระดับจิตของท่านผู้ฝึกฝนอบรมตนแล้ว, พระนิพพาน
  22. ทิฏฺฐปฺปตฺต : ค. ผู้บรรลุแล้วซึ่งทิฏฐธรรม, ผู้บรรลุนิพพานในปัจจุบันชาติ
  23. ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
  24. ทุกฺขกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งทุกข์, พระนิพพาน
  25. ทุกฺขขย ทุกฺขกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งทุกข์, ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ทุกขขยะ ทุกขักขยะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. สพฺพทุกขานํ ขยการณตฺตา ทุกฺขขโย ทุกฺขกฺขโย วา.
  26. ธุวคามี : ค. ซึ่งนำไปสู่พระนิพพาน, ซึ่งนำไปสู่ความเที่ยงแท้
  27. ธุวธมฺม : ป. ผู้บรรลุพระนิพพาน
  28. นิพฺพาณ : นป. พระนิพพาน, การดับ, การทำลาย, ความสงบเย็น
  29. นิพฺพาณสจฺฉิกรณ นิพฺพานสจฺฉิกรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน,การทำให้แจ้งพระนิพพาน,การทำพระนิพพานให้แจ้ง.
  30. นิพฺพานคมน : ค. ซึ่งนำไปสู่พระนิพพาน
  31. นิพฺพานคามินี : (อิต.) ปฏิปทาเป็นเครื่อง ยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพพาน. ข้อปฏิบัติ ให้สัตว์ถึงพระนิพพาน.
  32. นิพฺพานธาตุ : อิต. นิพพานธาตุ, ธาตุแห่งความสงบเย็น
  33. นิพฺพานนินฺน : ค. อันน้อมเข้าสู่นิพพาน, ซึ่งมุ่งต่อพระนิพพาน, อันหนักในพระนิพพาน
  34. นิพฺพานปฏิสญฺญุต : ค. อันปฏิสังยุตด้วยนิพพาน, ซึ่งพาดพิงถึงนิพพาน, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยนิพพาน
  35. นิพฺพานปตฺต : ค. ผู้บรรลุพระนิพพาน
  36. นิพฺพานปตฺติ : อิต. การบรรลุพระนิพพาน
  37. นิพฺพานปท : นป. บทคือพระนิพพาน
  38. นิพฺพานปริโยสาน : ค. อันสุดลงแค่นิพพาน, มีนิพพานเป็นที่สุด
  39. นิพฺพานสจฺฉิกิริยา : อิต. การกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
  40. นิพฺพานสญฺญา : อิต. ความหมายรู้พระนิพพาน
  41. นิพฺพานสมฺปตฺติ : อิต. การถึงพร้อมพระนิพพาน, การบรรลุพระนิพพาน
  42. นิพฺพานสมฺปทา : อิต. ปฏิปทาให้ถึงพระนิพพาน, การบรรลุพระนิพพาน
  43. นิพฺพานสวตฺตนิก : ค. อันประกอบในความเป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน, มีอันยังสัตว์ให้เป็นไปพร้อมเพื่อความถึงซึ่งพระนิพพาน, อันยังสัตว์ให้เป็นไปในพระนิพพาน
  44. นิพฺพานาภิรต : ค. ผู้ยินดียิ่งในพระนิพพาน, ผู้พอใจในพระนิพพาน
  45. นิพฺพาโนคธ : ค. ซึ่งหยั่งลงสู่พระนิพพาน
  46. นิพฺพายี : ค. ผู้บรรลุพระนิพพาน
  47. นิพฺพุติ : (อิต.) นิพพุติ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน คือการออกจากวุติคือตัณหา วิ. วติโต นิกฺขมนํ นิพฺพติ. ความดับ, ความเย็น. นิปุพฺโพ, วุ อุปสเม, ติ.
  48. นิรส : (นปุ.) นิรสะ ชื่อพระนิพพาน, พระ นิพพาน, การสละ, การละทิ้ง, การสละ ตัณหา, การละทิ้งตัณหา. นิปุพฺโพ, อสุ เขเป, อ, รฺอาคโม.
  49. ปตฺติปตฺต : ค. ผู้ถึงธรรมที่ควรถึง, ผู้บรรลุธรรมที่ควรบรรลุ, ผู้บรรลุนิพพาน
  50. ปรมตฺถธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเนื้อความอย่างยิ่ง, ธรรมมีเนื้อความอันประเสริฐ, ธรรมมี เนื้อความอันลึกซึ้ง, ธรรมมีอรรถอย่างยิ่ง, ฯลฯ, ปรมัตถธัม คือ จิต ๘๙ ดวง หรือ๑๒๑ ดวง เจตสิก ๕๒ ดวง รูป ๒๘ พระนิพพาน ๑. เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระอภิธรรม ได้แก่ หระอภิธัมมปิฎก.
  51. [1-50] | 51-88

(0.0163 sec)