นม : (นปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
กปฺปาสสุขุม : ค. มีเนื้อฝ้ายที่อ่อนนุ่มนิ่ม
สุขุมาล : (วิ.) ละเอียด, ละเอียดอ่อน, นิ่มนวล, นุ่มนวล, สละสลวย, ผู้ดี, ผิวบาง, บอบบาง, สุขุมาล, สุขุมาลชาติ.
โสขุมฺม : (นปุ.) ความเป็นแห่งความนิ่มนวล, ฯลฯ. สุขุม+ณฺย ปัจ. แปลง มฺย เป็น มฺม.
นมการ นมกฺการ : (ปุ.) การทำซึ่งการน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. วิ. นโมกรณํ นมกาโร นมกฺการโร วา.
นมม : (นปุ.) ความสุข. นมมํ + ย ปัจ.
นมมทา : (อิต.) นัมมทา ชื่อแม่น้ำสายที่ห้าใน สาย. วิ. นมมํ สุขํ ททาตีติ นมมทา (ให้ความสุข).
นมตก : นป. ชิ้นผ้า (ที่ตัดด้วยศัสตรา)
นมติ : ก. นอบน้อม, ก้มกราบ, ไหว้
นมนา : อิต. การน้อมไป
นโม : (อัพ. นิบาต) ไหว้. ลงในอรรถ ปฐมา ทุติยาวิภัติ รูปฯ และอภิฯ.
นิม : ป. หลัก, เสา; หลักปักสำหรับวัดหรือทำเครื่องหมายในการสร้างบ้านเรือน
นิมิ : (ปุ.) พระเจ้านิมิราช วิ. สุคติ เนติ ปาเปตีติ นิมิ นเย, มิ.
เนมิ : อิต. กงรถ
อนุนมติ : ก. น้อมลง, อ่อนน้อม
อพฺภุนฺนมติ : ก.น้อมไป, ยืดออก, ผุดขึ้น, แยกออก
อภินมติ : ก. ก้มลง, โค้ง, งอ
อานมนา : อิต. การน้อมไป, การโน้มไป
อุจฺจาสยนมหาสยน : (นปุ.) ที่นอนสูงและที่ นอนใหญ่.
อุนฺนม : ป. ที่สูง, ที่ดอน
อุนฺนมติ : ก. ยืดขึ้น, สูงขึ้น; ถือตัว
อุปนมติ : ก. น้อมเข้ามา, น้อมเข้าไป
โอนมนุนฺนมนปกติก : (วิ.) มีอันยุบลงและ อันฟูขึ้นเป็นปกติ.
ขีร : (นปุ.) น้ำนม, นม (น้ำที่รีดมาจากเต้านม), นมสด, กษีร, เกษียร. วิ. ขียติ ทุหเณนาติ ขรํ. ขี ขเย, อีโร, โร วา. นมที่รีดออกมา ใหม่ๆ เรียก ขีระ ขีระนั้นทิ้งไว้จนเปรี้ยว เรียก ทธิ ทธินั้นเจียวขึ้นเรียก ตักกะ ตักกะนั้นเจียวขึ้นเรียก นวนีตะ นวนีตะนั้น เจียวขึ้นเรียก สัปปิ. ส. กฺษีร.
ปโยธร : (ปุ.) อวัยวะอันทรงไว้ซึ่งน้ำ, นม ( เนื้อที่งอกขึ้นเป็นเต้าที่หน้าอกของหญิง ) วิ. ปโย ขีรํ ธาเรตีติ ปโยธโร.
กุจ : (ปุ.) นม (นมของหญิง) วิ. คจฺฉนฺเต กาเล กุจตีติ กุโจ. กุจฺ สงฺโกจเน, อ. เป็น นปุ. ก็มี. ส. กุจ.
ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
ถน : (ปุ.) นม (อวัยวะสองเต้าที่หน้าอก สัตว์ บางชนิดมีหลายเต้า), เต้านม, ถัน. ตนุ วิตฺถาเร, อ, ตสฺส โถ. ถรฺ เทวสทฺเท วา, อ. เถนฺ โจริเย วา. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ.
ทุยฺหติ : ก. (อันเขา) รีด (นม)
ทุหติ : ก. รีด (นม)
เธนุ : (อิต.) นม (นมที่มีน้ำนม). โคนม, แม่ โคนม, วิ. ธยติ อิโต ขีรํ โปตโกติ เธนุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ธายติ วจฺฉํ ปาเยตีติเธนุ. เธปาเน, นุ, ส. เธนุ.
ปย : (ปุ.) นม (นมสด), น้ำ, น้ำนม, วิ. ปาตพฺพนฺติ ปโย. ปา ปาเน, โณ. แปลง อา เป็น อิ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย หรือ ตั้ง ปยฺ คติยํ, อ.
อมถิต : ค. (นม) ที่ยังไม่แปร
กฏุรา : อิต. เศษนมที่เหลือจากทำเนย, เปรียง
กุมฺภทูหน : นป. การรีดนมด้วยหม้อ, การรีดนมลงในภาชนะ
กุมฺมาส : (ปุ.) ขนมแดง, ขนมสด, ขนมทำด้วย ถั่วเขียว, ขนมถั่ว. แปลว่า นมเปรี้ยวก็มี.
ขีรมูล : นป. ค่าน้ำนม, เงินสำหรับซื้อน้ำนม
คคฺครี : (อิต.) ภาชนวิกัติสำหรับคนนมให้เป็น เนย วิ. คคฺค อิติ สทฺทํ ราตีติ คคฺครี. คคฺคปุพฺโพ, รา อาทาเน, อี.
คทฺทุ (ทู) หน : นป. การรีดนม
ควปาน : นป. ขนมที่ทำด้วยข้าวผสมนมโค
โฆล : นป. เศษนมที่เหลือจากทำเนย
จาตุกุมฺมาส : ป. ขนมกุมมาส (ทำด้วยข้าวต้มผสมนมเปรี้ยว) มีส่วนผสมสี่อย่าง
ติปุ : (ปุ.) กาฬโลหะ, ดีบุก, ตะกั่วนม, เหล็กวิลาส. ติปฺ ปีฬเน, อุ. ตปฺ สนฺตาเป วา. อุ, อสฺสิตฺตํ. วิ. ตาปิยตีติ ติปุ. ส. ตฺรปุ ตฺรปุส.
ถนก : นป. ถันเด็ก, นมเด็กสาววัยรุ่น
ถนคฺค : นป. ปลายนม, หัวนม
ถนป : (ปุ.) เด็กผู้ดื่มน้ำอันเกิดจากนม, เด็ก ผู้ดื่มน้ำนม, เด็กยังดื่มนม, เด็กยังเล็ก, เด็กทารก, ทารก. วิ. ถนํ ปิวตีติ ถนโป. ถนปุพโพ, ปา ปาเน, อ.
ถนปฏก : (ปุ. นปุ.) ผ้าสำหรับคาดซึ่งนม,ผ้าคาดนม,ผ้าเคียนนม.
ถนปา : (อิต.) เด็กหญิงผู้ดื่มซึ่งน้ำอันเกิดจาก นม, ฯลฯ, ทาริกา.
ถนสิทารก : ป. ทารกผู้นอนดูดนม, เด็กกินนม
ถนี : ค. ผู้มีถัน, ผู้มีนม