นว : (วิ.) ใหม่, สด, หนุ่ม. นุ ถุติยํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นว, นวีน.
ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
ปเทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
อติเรกจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิน, อติเรกจีวรคือผ้าที่ยังไม่ได้อธิฐานยังไม่ได้วิกัป. ไตร๒/๔ผ้าที่ได้มาใหม่ยังไม่ได้พินทุอธิฐานและวิกัปผ้าอันไม่ใช่ของอธิฐานและไม่ใช่ของวิกัปผ้านอกจากไตรจีวร มีขนาดตั้งแต่๔x๘ นิ้ว และไม่ใช่ของวิกัป.
กนิฏฐา : อิต. นิ้วก้อย
กนิฏฐ า กนิฏฺฐงฺคุลิ : (อิต.) นิ้วก้อย.
กปิฏฐ : ป., นป. มะขวิด; กระพุ่มมือ, การประสานนิ้วมือเข้ากัน
กรภ : (ปุ.) กรภะ ชื่อมือด้านข้างข้อมือและ นิ้วก้อยที่เด็กทำดุจศัตราประหารกันและ กัน, ข้างมือ, สันมือ, อูฐ. กรฺ หึสายํ กรเณ วา, อโภ. ส. กรภ.
กรสาขา : อิต. นิ้วมือ, นิ้วเท้า
คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
โคกณฺณ : (ปุ.) โคกัณณะชื่อของคืบชนิด ๑ ใน ๔ ชนิด คือการเหยียดนิ้วมือและนิ้วนาง คืบออกให้ตรง.
จตุรงฺคุล, - ลิก : ค. มีประมาณสี่นิ้ว
จุลฺลองฺคุลี : อิต. นิ้วก้อย
ตชฺชนี : (อิต.) นิ้วชี้, ดัชนี, ดรรชนี. วิ.ตชฺเชติ ยาย สา ตชฺชนี. ตชฺชฺ หึสายํ, ยุ.
ทีฆงฺคุลี : ค. ผู้มีนิ้วยาว
ทุวงฺคุล : ค. มีประมาณสองนิ้ว
ทุวงฺคุลกปฺป : ป. การถือว่าสองนิ้วควรได้แก่การกำหนดเวลาอาหารยืดออกไปจนถึงตะวันบ่ายเงายาวสองนิ้ว
ทุวงฺคุลปญฺญ : ค. ผู้มีปัญญาเพียงสองนิ้ว, ผู้มีปัญญาน้อย (หมายถึงสตรี)
ปญฺจงฺคุลิก : ค. ประกอบด้วยนิ้วทั้งห้า
ปฏิคฺคห : ป. การรับ, ผู้รับ, การต้อนรับ, เครื่องรองรับ, กระโถน; ปลอกสวมนิ้วมือเมื่อเย็บจีวร
ปณข : ป. ปลายนิ้ว
ปาทงฺคุฏฺฐ : นป. นิ้วเท้า, หัวแม่เท้า
ปามขีล : ป. ตุ่มหนังบนนิ้วเท้า, โรคตาปลาบนเท้า; หัวหูดที่เท้า
พุทฺธก : ค. ผู้มีปัญญาน้อย (มักใช้ในรูปสมาส เช่น คำว่า ทฺวงฺคุลพุทฺธก = ผู้มีปัญญาน้อยเพียงสองนิ้ว)
มกุฬรตน : (นปุ.) กำมา คือศอกที่กำนิ้วมือ.
มชฺฌิมา : (อิต.) นิ้วกลาง, นิ้วนาง. วิ. มชฺเฌ ติฏฺฐตีติ มชฺฌิมา.
สุลา : (อิต.) สุลา ชื่อโรคหัวเดือนที่ขึ้นปลายนิ้ว, โรคจุกเสียด. สูลฺ รุชายํ, อ, รสฺโส.
องฺคุฏฺ : (ปุ.) นิ้ว, นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแม่มือ. หัวแม่มือ. วิ. อคฺเค ปุเร ติฏฐตีติ องฺคุฏโฐ. อคฺคปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, อสฺสุตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม, วิสํโยคตฺตญฺจ. (แปลง อ ที่ ค เป็น อุ ลงนิคคหิตอาคม ลบ คฺ สังโยค เอานิคคหิตเป็น งฺ). องฺคฺ คมเน วา, โฐ, อสฺสุตฺตํ, ฏฺสํโยโค. ลง ก สกัดเป็น องฺ คุฏฐก บ้าง. ส. องฺคุษฺฐ.
องฺคุฏฺฐ : (ปุ.) นิ้ว, นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแม่มือ.หัวแม่มือ. วิ. อคฺเค ปุเร ติฏฐตีติ องฺคุฏโฐ.อคฺคปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, อ, อสฺสุตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม, วิสํโยคตฺตญฺจ. (แปลง อ ที่ค เป็น อุ ลงนิคคหิตอาคม ลบคฺสังโยคเอานิคคหิตเป็นงฺ).องฺคฺคมเนวา, โฐ, อสฺสุตฺตํ, ฏฺสํโยโค.ลงกสกัดเป็นองฺคุฏฐก บ้าง. ส. องฺคุษฺฐ.
องฺคุล : (ปุ. นปุ.) นิ้ว, นิ้วมือ, นิ้วเท้า.ส.องฺคล นิ้วมือ, นิ้วแม่มือ.
องฺคุลฏฺฐิ : นป. กระดูกนิ้วมือ
องฺคุลฏฺฐิ : (นปุ.) กระดูกแห่งนิ้วมือ, กระดูกนิ้วมือ.
องฺคุลนฺตร : (นปุ.) ระหว่างนิ้วมือ, ง่ามมือ.
องฺคุลฺยาภรณ : (นปุ.) เครื่องประดับของนิ้ว, แหวน.
องฺคุลิก : (วิ.) สำเร็จด้วยนิ้วมือ.เจิม.
องฺคุลิปโตทก : นป. การจี้ด้วยนิ้วมือ
องฺคุลิปท : นป. เครื่องหมายนิ้วมือ
องฺคุลิปพฺพ : (นปุ.) ข้อของนิ้ว, ข้อนิ้ว.
องฺคุลิโปฐ : นป. การดีดนิ้วมือ, การหักนิ้วมือ
องฺคุลิมาล : (ปุ.) องคุลิมาล ชื่อคนผู้มีมาลัยทำด้วยนิ้วมือชื่อคนผู้เป็นโจร, พระเถระนามว่า องคุลิมาล.
องฺคุลิมุทฺทา : (อิต.) หัวแหวนมีอักษร, แหวนตรา, แหวนมีอยู่ที่นิ้วมือ. วิ. องฺคุลิมุทฺทา.ส.ตัป.องฺคุลิ+มุทฺธาเป็นองฺคุลิมุทฺธา บ้าง.
องฺคุลิ, -ลี : อิต. นิ้วมือ, นิ้วเท้า, กีบเท้าโค
องฺคุลิองฺคุลี : (อิต.) นิ้ว, นิ้วมือ, อคิคนิยํ, อุลี.องคุลีชื่อมาตราวัดระยะของโบราณยาวเท่ากับข้อนิ้วกลาง.ศัพท์ต้นรัสสะ.องฺคุลี.
องฺคุลิ องฺคุลี : (อิต.) นิ้ว, นิ้วมือ, อคิ คนิยํ, อุลี. องคุลีชื่อมาตราวัดระยะของโบราณ ยาวเท่ากับข้อนิ้วกลาง. ศัพท์ต้นรัสสะ. องฺคุลี.
องฺคุลียก : (นปุ.) วัตถุมีอยู่ที่นิ้วมือ, แหวน. วิ.องฺคุลิยํ ภวํ องฺคุลียกํ. อีย ปัจ. ก สกัด.
อจฺฉร : (นปุ.) นิ้วมือ, มือ.
อจฺฉรมตฺต : ค. ชั่วลัดนิ้วมือ
อจฺฉรา : (อิต.) นิ้วมือ, มือ.
อจฺฉราสงฺฆาต : ป. การดีดนิ้วมือ
อจฺฉราสงฺฆาตมตฺต : (วิ.) ชั่วเวลาลัดนิ้วมือ