นาน : (วิ.) ต่างกัน, ต่างๆ, ต่างๆกัน.
นาวิกสาสน : (นปุ.) ข้อบังคับเกี่ยวกับการเดินเรือ, กฎหมายเกี่ยวกับการเดินเรือ ในน่านน้ำทั่วไป, นาวิกศาสน์. ส. นาวิกศาสน.
สีทนฺตร : (ปุ.) สีทันดร ชื่อน่านน้ำที่ล้อมเขาพระสุเมรุ.
นานตา : (อิต.) ความาเป็นแห่งของต่างๆ, ความเป็นแห่งของต่างๆ กัน, ความเป็น ของต่างกัน. วิ. นาน เมว นานตา.
นานตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของต่างๆ, ฯลฯ.
นานตฺตกถา : (อิต.) เรื่องเบ็ดเตล็ด.
นานตฺตกาย : ค. มีร่างกายเป็นของต่างๆ กัน
นานตฺตสญญา : (อิต.) สัญญาต่าง ๆ กัน.
นานตฺตา : (อิต.) ความต่าง, ความต่างกัน.
นานปฺปการ นานปฺปการก : (วิ.) มีประการ ต่างๆ, นานัปการ (มีหลายอย่าง มีหลายประการ).
ทีฆ : (วิ.) ยาว, นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน ยืน นาน (สิ้นความเสื่อม). คำนี้ มักเขียนผิด เป็นทีฆ พึงระวัง. ที ขเย, โฆ. ส. ทีรฺฆ.
อทฺธาน : (วิ.) ไกล, ยาว, นาน, ยืดยาว.
ธาตุนานตฺต : นป. ความเป็นต่างๆ กันแห่งธรรมชาติหรือธาตุ
สินาน : (นปุ.) การอาบ, การอาบน้ำ, เครื่องสนาน, เครื่องสำอาง, เครื่องอาบน้ำ. สินา โสจยฺเย, ยุ.
โอจีรก : ค. นาน
กทาจิกรหจิ : อ. บางครั้ง, บางคราว, นานนานครั้ง
คณวสฺสิก : ค. หลายปี, ตลอดกาลนาน
จิร : (วิ.) นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน, ยืนนาน.
จิร : (อัพ. นิบาต) นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน, ยืนนาน, สิ้นกาลนาน, สิ้นกาลช้านาน. ลงในทิฆกาล รูปฯ ๒๘๒ อภิฯ เป็นสัตมี ด้วย แปลว่า ในก่อน, ในกาลก่อน.
จิรกาล : อ. ตลอดเวลาอันยาวนาน, ชั่วกาลนาน
จิรฏฺฐติกาล : (ปุ.) กาลอันตั้งอยู่นาน, ฯลฯ.
จิรฏฐิติก : ค. ซึ่งตั้งอยู่ตลอดกาลอันยาวนาน, ซึ่งดำรงอยู่ชั่วกาลนาน
จิรตร : อ. นานกว่า, ยั่งยืนกว่า
จิรทกฺขิต, - ทิกฺขิต : ค. ผู้ประพฤติพรตมาช้านาน, ผู้บวชมานานแล้ว
จิรนิวาสี : ค. ผู้อาศัยมาช้านาน
จิรปฏิก : ป. กาลนาน (มีใช้เฉพาะในรูปปัญจมีวิภัติติเป็น จิรปฏิกา = ตั้งแต่กาลนานมาแล้ว)
จิรปฺปวาสี : (วิ.) ผู้ค้างแรมในที่อื่นนาน
จิรรตฺต : อ. ตลอดราตรีนาน, สิ้นกาลนาน, ชั่วกาลนาน
จิรรตฺตาย : (อัพ. นิบาต) ต่อราตรีนาน, เพื่อ ราตรีนาน. อภิฯ.
จิรสฺส : (อัพ. นิบาต) นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน, ยืนนาน, สิ้นกาลนาน, สิ้นกาลช้านาน. รูปฯ ๒๘๒.
จิราย : อ. เพื่อกาลนาน, ชั่วกาลนาน
จิเรน : (อัพ. นิบาต.) โดยกาลนาน. อภิฯ.
ทีฆทสฺสี : (วิ.) ผู้เห็นกาลนาน, ผู้เห็นกาล นานโดยปกติ. ฯลฯ, ผู้มีปกติเห้นกาลไกล, ณี ปัจ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
ทีฆรตฺต : (นปุ.) ราตรียาว, ราตรีนาน, กาลนาน. วิ. ทีฆา รตฺติโย ทีฆรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต.
ทีฆรตฺต : อ. ตลอดราตรีนาน, ชั่วกาลนาน
ทีฆสุรต : (ปุ.) สัตว์ผู้ยินดีในกาลหลับนานใน เวลากลางวัน, สุนัข, หมา. ทิว+ทีฆ+สุป+รต ลบ ทิว และ ป.
ทีฆโสตฺถิย : นป. ความปลอดภัยตลอดกาลนาน, สวัสดิภาพอันยั่งยืน, ความเจริญรุ่งเรืองชั่วกาลนาน
ทีฆายุ ทีฆายุก ทีฆาวุ : (วิ.) มีอายุยาว, มีอายุ นาน, มีอายุยาวนาน, มีอายุยืน, มีอายุ ยืนนาน, มีอายุยั่งยืน. คำที่สอง ก สกัด คำที่สาม แปลง ยุ เป็น วุ.
ธุวฏฺฐานิย : ค. (รองเท้า) อันมีฐานะยั่งยืน, อันทนได้นาน
นจิร : ค. ไม่นาน, สั้น
นจิรสฺส : อ. ไม่นาน
นานารูป : (วิ.) มีรูปต่างๆ, มีรูปมีประการ ต่างๆ, มีมากอย่าง, มีต่างๆ อย่าง. วิ. นานปฺปการา รูปา ยสฺส โส นานารูโป.
ปปญฺจ : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความยืดยาว, ความซึมซาบ, ความเนิ่นช้า, ความเยิ่นเย้อ, ความนาน, ความเนิ่นนาน, ความขัดข้อง, กาลช้า, กาลเนิ่นช้า, ความแพร่หลาย ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ ให้เนิ่นช้า. วิ. ปปญฺจียเตติ ปปญฺโจ. ปปุพฺโพ, ปจิ วิตฺถาเร, อ, นิคฺคหิตาคโม.
ปรมฺปร : (วิ.) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, นานมา, โบราณนานมา.
ปรมฺปรา : (อัพ. นิบาต) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, ก่นเก่า, นานมา, โบราณนานมา. วิ. ปเร จ ปเร จ ปรมฺปรา.
พฺยาส : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความพิสดาร, ความยืดยาว, ความเนิ่นช้า, ความเนิ่นนาน, ความซึมซาบ. วิ ปพฺโพ, อสุ เขปเน, โณ.
ยถาภิรนฺต : ค. นานเท่าที่ต้องการ, เท่าที่ประสงค์จะอยู่
รตฺตญฺญู : (ปุ.) บุคคลผู้รู้ราตรีนาน, บุคคลผู้รู้กาลนาน, บุคคลผู้มีประสบการณ์มาก, รัตตัญญูบุคคล (ผู้มีอายุมาก ผู้จำกิจการต่างๆ ได้มาก).
อจิร : (วิ.) ไม่นาน, ไม่ช้า, ไม่ยั่งยืน, ชั่วคราว, ชั่วคราวหนึ่ง, ชั่วครู่, พลัน. ส. อจิร.
อจิร : (อัพ. นิบาต) ไม่นาน, ฯลฯ, สั้น.