Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: น้อม , then นอม, น้อม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : น้อม, 48 found, display 1-48
  1. โปณ : (วิ.) เอียง, เอียงไป, น้อม, น้อมไป, ลุ่ม, ลึก, เงื้อม, หวั่นไหว, หลบหลีก. ปุ โอนเต, โณ. ไม่ลบ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ.
  2. กรุณาธิมุตฺต : นป. ความมุ่งในความกรุณาหรือความเอ็นดู, ความน้อมไปในความกรุณา
  3. กลฺยาณาธิมุตฺติก : ค. ผู้มีจิตน้อมไปในทางที่ดีงาม
  4. กามาธิมุตฺต : ค. ผู้น้อมนึกถึงกาม, ผู้จดจ่อในกาม
  5. คตฺตวินาม : (ปุ.) การน้อมไปซึ่งกาย, การน้อมกายไปต่างๆ, การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ.
  6. นต : ค. ซึ่งก้ม, ซึ่งน้อม,ซึ่งเอียง
  7. นติ : อิต. การก้ม, การน้อม,การเอียง, การโค้ง, การโน้มลง
  8. นม : (นปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
  9. นมการ นมกฺการ : (ปุ.) การทำซึ่งการน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. วิ. นโมกรณํ นมกาโร นมกฺการโร วา.
  10. นมน : (ปุ.) การน้อม.การนอบน้อม,การเคารพ,การไหว้,การกราบไหว้,ความน้อม,ฯลฯ.นมฺนมุนมเน.อ.ยุ.
  11. นมนา : อิต. การน้อมไป
  12. นมสฺสน : (นปุ.) การนอบน้อม, การไหว้, การน้อมไหว้, การกราบ, การกราบไหว้, นมสฺสฺ วนฺทเน, ยุ.
  13. นมสฺสิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การนอบน้อม, การเคารพ; เพื่อนอบน้อม, เพื่อเคารพ
  14. นมิต : ค. น้อมแล้ว, นอบน้อมแล้ว,เคารพแล้ว, สามารถแล้ว
  15. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  16. นาเมติ : ก. ก้ม, นอบนบ, ไหว้, กราบ, ให้น้อมลง
  17. นินฺนต : ค. ซึ่งน้อมลง, ซึ่งโค้งลง, ซึ่งเอนลง
  18. นินฺนามี : ค. อันโน้มลง, อันน้อมลง
  19. นินฺนาเมติ : ก. น้อมลง, ก้มลง, โค้ง, แลบออก
  20. นิพฺพานนินฺน : ค. อันน้อมเข้าสู่นิพพาน, ซึ่งมุ่งต่อพระนิพพาน, อันหนักในพระนิพพาน
  21. ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
  22. ปณาเมติ : ป. น้อม, ก้ม, โค้ง, ประนม, ไหว้
  23. ปริณต ปรินต : (วิ.) น้อมไปโดยรอบ, แปรไป, เปลี่ยนแปลง, คร่ำคร่า, แก่, แก่จัด, แก่เฒ่า, ปริ+นมฺ+ต ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  24. ปริณาม ปรินาม : (ปุ.) การน้อมไป, การน้อม มา แปลได้ทั้งไปและมา แล้วแต่เนื้อความจะบ่ง, การย่อยไป, ความน้อมไป, ความน้อมมา. ณ ปัจ.
  25. ปริณามา ปรินามน : (นปุ.) การน้อมไป, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  26. พุทฺธคต : ค. (สติ) ที่เป็นไปในพระพุทธเจ้า, ที่น้อมไปในพระพุทธเจ้า
  27. วินาม : ป., - มน นป. การน้อมกาย
  28. วินาเมติ : ก. น้อมกาย
  29. อธิมุจฺจติ : ก. ๑. น้อมใจไป, นึกน้อม ; ๒. สิง, เข้าสิง, ครอบครอง
  30. อธิมุจฺจน : (นปุ.) ความน้อมใจเชื่อ, ความแน่ใจอธิ+มุจฺ+ย ปัจ.ประจำธาตุ ยุ ปัจ.
  31. อธิมุตฺต : (นปุ.?)ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความน้อมใจเชื่อ, ความพอใจ, จิตนอนอยู่, อัชฌาสัย, อัธยาศัย.อธิปุพฺโพ, มุจฺ โมจเนนิจฺฉเย วา, โต, จสฺสโต.
  32. อธิมุตฺติก : ค. ผู้น้อมใจเชื่อ, ผู้นึกน้อม
  33. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  34. อธิโมเจติ : ก. ๑. ให้ยึด, ให้สิง; ๒.ให้นึกน้อม
  35. อนุนมติ : ก. น้อมลง, อ่อนน้อม
  36. อโนนมนฺต : ค. ซึ่งไม่น้อมลง, ซึ่งไม่เอนลง
  37. อปนมติ, อปนาเมติ : ก. นำไป, นำออก, เนรเทศ, น้อมลง
  38. อภินินฺนาเมติ : ก. โน้มน้อมไป, น้อมลงไป, นำไปสู่
  39. อานมนา : อิต. การน้อมไป, การโน้มไป
  40. อานาเมติ : ก. ให้น้อมลง, เอนลง, แอ่นลง
  41. อาวตฺต : ๑. นป. การหมุนไป, การพัดไป, การน้อมไป; ๒. ค. ซึ่งหมุนไป, ซึ่งเปลี่ยนไป
  42. อุปนต : กิต. น้อมเข้าไปแล้ว, โน้มลงแล้ว
  43. อุปนมติ : ก. น้อมเข้ามา, น้อมเข้าไป
  44. อุปนมน : นป. การน้อมเข้ามาใกล้
  45. อุปนยน : นป. การน้อมเข้ามาใกล้
  46. อุปนาเมติ : ก. น้อมเข้าไป, นำเข้าไป, น้อมถวาย
  47. โอนมติ : ก. ก้มลง, น้อมลง, ถ่อมลง
  48. โอปนยิก : (วิ.) เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออันน้อมเข้ามา, เป็นธรรมอันบุคคลควรน้อมเข้ามา. วิ. อุปเนตุ  ภพฺโพติ โอ ปนยิโก. เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออัน น้อมเข้ามาในตน, เป็นธรรมอันบุคคลควร น้อมเข้ามาในตน. วิ. อนฺตนิ อุปเนตุ ภพฺโพติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามา วิ. อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรเพื่ออัน นำเข้ามา วิ. อุปเนตุ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามาในจิตของตน ด้วยสามารถ แห่งภาวนา วิ. ภาวนาวเสน อตฺตโน จิตฺเต อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  49. [1-48]

(0.0162 sec)