กณิฏฺฐ กนิฏฺฐ : (วิ.) น้อยที่สุด, น้อยเกิน, หนุ่มเกิน, น้อย. อปฺป หรือ ยุว ศัพท์ อิฏฺฐปัจ. เสฏฐตัท. รูปฯ ๓๘๐ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. โมคฯณาทิกัณฑ์ ๑๓๗ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ กน. ส. กนิษฐ.
กณิฏฐ : ป. น้อยที่สุด, เล็กที่สุด, ผู้เป็นน้องคนเล็ก
กนิฏฺฐ ภคินี กนิฏฺฐา : (อิต.) น้องหญิงผู้น้อย ที่สุด, น้องหญิงคนสุดท้อง, น้องหญิง, น้องสาว.
กนิฏฐ : (ปุ.) น้องชายผู้น้อยที่สุด, น้องชาย สุดท้อง, น้องชาย. ส. กนิษฺฐ.
กนิฏฺฐ ภาตุ : (ปุ.) น้องชายผู้น้อยที่สุด, น้อง ชาย.
กนิฏฺฐา : (อิต.) น้องหญิงผู้น้อยที่สุด, น้อง หญิง, น้องสาว.
อกนิฏฺฐ : (วิ.) ไม่น้อย, สูงสุด, สูงที่สุด, ใหญ่ที่สุด.
โกฏิ : (อิต.) คม, ปลาย, มุม, ที่สุด, หาง, ส่วน, เงื่อน. กุฏฺ โกฏิลฺย, อิ, อิณฺ วา.
นิกูฏ : ป., นป. มุม, ที่สุด, ยอด
นิฏฐา : อิต. ความสำเร็จ, ที่สุด, จบ, ความตกลง, ความหมดไป, การหายไป, การตกอันดับ
ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
อวสาน : (ปุ.) ที่สุดลง, กาลเป็นที่สุดลง, กาลเป็นที่จบลง, ที่สุด, ที่จบ, การจบ. อวปุพฺ-โพ, สาอวสาเน, ยุ.ส.อวสาน.
กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
กุฏฐ : ๑. นป. โรคเรื้อน; ต้นโกฐ;
๒. ค. เล็ก, น้อย, รอง
ขุทฺท : (วิ.) เล็ก, น้อย, เล็กน้อย, ต่ำช้า, ต่ำ- ทราม, ยากไร้, กำพร้า, ตระหนี่.
ขุลฺล ขุลฺลก : (วิ.) เล็ก, น้อย, เลว, ต่ำ. ขุรฺ เฉทเน, โล, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
จูฬนิก : ค. มีขนาดเล็ก, เล็ก, น้อย
ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
โถก, โถกก : ค., นป. นิดหน่อย, น้อย, เล็กน้อย, ไม่สำคัญ; สิ่งเล็กๆ น้อยๆ
ทหร : (วิ.) เยาว์, เล็ก, น้อย, หนุ่ม. ส. ทหาร.
พินฺทุ : (วิ.) นิดหน่อย, น้อย, เล็กน้อย, กลมกล่อม.
มิต : ๑. กิต. นับแล้ว;
๒. ค. พอประมาณ, น้อย
ลหุก : ค. เบา, น้อย
สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
โอร โอรก : (วิ.) ต่ำ, เบื้องต่ำ, ต่ำต้อย, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ลามก, เล็ก, น้อย, เล็ก น้อย. ส. อวร.
ธีตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว, ธิดา. วิ. มาตา ปิตูหิ ธรียเตติ ธีตา ธรฺ ธารเณ, ริตุ, อิ การสฺส ทีโฆ, ลบ ที่สุด ธาตุ และลบ รฺ ตัว ปัจ.
นิฏฺฐา : (อิต.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
นิฏฐาน : (นปุ.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
อยฺยกา อยฺยกี อยฺยิกา อยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยาย รูปฯ ๑๘๙ ว่า อยฺยก ศัพท์เป็นต้น เมื่อลง อี ปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอา อ ที่สุด ของศัพท์เป็น อาน.
กณิย กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, หนุ่ม เกิน, น้อย. อิย ปัจ. เสฏฐตัท.
กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, น้องกว่า, หนุ่ม เกิน, น้อย. อปฺป+อิย ปัจ. แปลง อปฺป เป็น กน.
กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
กุมารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, กุมาร. ก สกัด. เด็กน้อย, กุมารน้อย. ก ที่ลงในอรรถว่า น้อย. ที่เป็นพหุ: แปลว่า เด็กๆ.
ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
มุทธา : (อิต.) ปัญญาเพียงดังศรีษะ, ปัญญาชื่อมุทธา, หัว, ศรีษะ, ยอด, ที่สุด. อาอิต.
เลส : ป. ของเล็กๆ น้อย ๆ; ข้ออ้าง, เลศนัย, เล่ห์เหลี่ยม
อ : (วิ.) เจริญ, ใหญ่อุ, ภวาภว ภพและภพอันเจริญ, ภพน้อยและภพใหญ่, อผล ผลใหญ่ เวสฯ ๗๒๐ แก้ว่า ผลนฺติมหนฺตํผลํ. อภิฯ อกาโร วุฑฺฒิยํ. น้อย อุ. อพลกำลังน้อย วิ.อปฺปํ พลํ อพลํ.มีกำลังน้อยวิ. อปฺปํ พลํ ยสฺส โส อพโล.
อีส : อ. น้อย
อีสสฺสย : (ปุ.) การนอนนิดหน่อย, การนอน น้อย. วิ. อีสํ สียเตติ อีสสฺสโย. อีสํ วา สยนํ อีสสฺสโย. อีสปุพฺโพ, สี สเย, โข.
อณิ : (อิต.) ลิ่ม.สลัก (สิ่งที่สลักปลายเพลาไม่ให้ลูกล้อหลุด), ขอบ, ที่สุด.อณฺคติยํอิ. เป็นอณี อาณิ อาณี ก็มี. ส. อณิ. อาณิ.
อลป : (วิ.) น้อย.อปฺปศัพท์แปลงปฺเป็นล.
กากลี : (อิต.) เสียงเล็ก, เสียงเบา, เสียงเล็ก ที่สุด, เสียงเบาที่สุด. วี. อีสํ กลา วาณี กากลี. กา + กลา + อี ปัจ. วิ. ใช้ อีส แทน กา กา ศัพท์ มี สุขุม เป็น อรรถ.
ปริยนฺต : ป. ที่สุด, ยอดสูงสุด, เขต
ปริโยสาน : นป. ที่สุด, บทสุดท้าย, การจบ, การรวบยอด
อปรนฺต : ป. ที่สุด, ปลายแดน, อนาคต, ชื่อประเทศในอินเดียตะวันตก
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.