มจฺฉณฺฑี : (อิต.) น้ำอ้อย (เช่นกับฟองปลา). มจฺฉณฺฑ-สทิสตฺตา มจฺฉณฺฑี. น้ำตาลทราย (ให้สุกมาจากรสวิเศษของอ้อย).
คุล คุฬ : (ปุ.) น้ำอ้อย, น้ำอ้อยงบ, น้ำตาล, น้ำตาลงบ, ลูกกลมๆ, ก้อน, ก้อนข้าว, ช่อ, พวง, มัด กลุ่ม, ขลุบ, (ลูกคลีสำหรับแข่ง ขันกัน) เป็น คุลบก็มี. คุฬฺ รกฺขเณ, อ. คุ สทฺเท วา, โฬ. ศัพท์ต้น แปลง ฬ เป็น ล โมคฯ ลง ฬฺก ปัจ.
ผาณิต : (นปุ.) น้ำอ้อย, น้ำตาล, น้ำอ้อยงบ. ผาณฺ คติยํ, ติ, อิ อาคโม.
ผาณิตโตทก : นป. น้ำอ้อย, น้ำตาล
วาลิกา, วาลุกา : อิต. กรวด, ทราย
จิตกา : (อิต.) ทราย (ไหลมาสะสม).
ปญฺจวณฺณ : ค. มีห้าสี (น้ำเงิน, เหลือง, แดง, ขาว, น้ำตาล)
ปุลิน : นป. ทราย
วณฺณุ : อิต. ทราย
สิกตา : (อิต.) ทราย. สิจฺ ฆรเณ, โต. อ. ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง จ เป็น ก อา อิต.
กณฺหปีต : (วิ.) น้ำตาลแก่, เหลืองหม่น (สี...).
กปิล : (ปุ.) กปิละ ชื่อคน ชื่อปลา, โคมีสีแดง,โคแดง, สีดำแดง, สีเหลือง, สีน้ำตาลอ่อน, วิ. อกพิ นีลา ทิวณฺณตฺตํ อคมีติ กปิโล กพิ วณฺเณ, อิโล, พสฺส โป. ส.กปิล.
กลาร : ค. เป็นสีน้ำตาลอ่อน
กลาร กฬาร : (ปุ.) ดำเหลือง, สีดำเหลือง, ดำแดง, สีดำแดง, สีน้ำตาลอ่อน, สีคล้ำ. วิ. เอเตน คุณํ กลียตีติ กลาโร กฬาโร วา. กลฺ สํขฺยาเณ, อาโร.
กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
ขณฺฑสกรา : (อิต.) ขัณฑสกร ชื่อเครื่องยาชนิด หนึ่งคล้ายน้ำตาลกรวด. น้ำตาลกรวด ก็แปล.
คุฬกรณ : นป. การทำน้ำอ้อยงบ, โรงงานน้ำตาล
คุโฬทน : (ปุ.) ข้าวสุกผสมด้วยน้ำตาลอ้อย วิ. คุเฬน สํสฏฺโฐ โอทโน คุโฬทโน.
จมร : (ปุ.) จมร จามรี จามจุรี ชื่อสัตว์จำพวก เนื้อทรายขนละเอียด หางยาวเป็นพู่ จมุ อทเน, อโร.
จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
จามร : (นปุ.) พัดทำด้วยขนทราย, จามรชื่อ เครื่องสูงชนิดหนึ่ง สำหรับขบวนพระราช ยาน.
ชโลคิ : นป. น้ำตาลเมา
ตมฺพเกส : ค. มีผมสีน้ำตาล
ตมฺพนข, - ขี : ค. ผู้มีเล็บสีแดงหรือสีน้ำตาล
ตมฺพเนตฺต : ค. มีนัยน์ตาสีน้ำตาล
นิคฺคุณฺฑิ, - ฑี : อิต. ไม้ย่านทราย, พุ่มไม้
นิคุณฺฑี นิคฺคุณฑี : (อิต.) ไม้ย่งทราย, ไม้ ย่านทราย, คนทีสอ, โคนดินสอ ก็เรียก. วิ. นตฺถิ คุณฺฑํ คพฺภพนฺธน เมตสฺสาติ นิคุณฺฑี นิคฺคุณฺฑี วา. เป็น นิคฺโคณฺฑี ก็มี.
นิปฺผาณิตตฺต : นป. ความเป็นผู้หรือสิ่งที่ปราศจากน้ำตาลหรือน้ำอ้อย
ปตฺตาฬหก : (ปุ.) การเล่นตวงทรายด้วยใบไม้.
ปตฺตาฬฺหก : นป. ทะนานทำด้วยใบไม้สำหรับเล่นตวงทราย, การเล่นตวงทราย
ปิงฺก, ปิงฺค : ป. หน่อไม้, หน่อ, สีเหลือง, สีน้ำตาล
ปิงฺคล : ค. สีน้ำตาล, สีดำแดง
ปิญฺชร : ค. สีแดงเรื่อๆ , สีน้ำตาลปนเหลือง
ปุพฺพภทฺทปทา : (อิต.) บุรพภัทรบท ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๕ ใน ๒๗ กลุ่ม, ดาวหัวเนื้อทราย, ดาวราชสีห์ตัวผู้, ดาวเพดาน, ดาวโปฐบท ก็เรียก. วิ. ปุพฺพา จ สาภทฺทปทา เจติ ปุพฺพภทฺทปทา.
ปุลิน ปุฬิน : (นปุ.) ทราย, เนินทราย, หาดทราย. ปุลฺ ปุฬฺ มหตฺเถ, อิโน.
ผาณิตปุฏ : ป. ห่อน้ำอ้อย, ห่อน้ำตาล
มธุมุตฺต : (นปุ.) เบาหวาน ชื่อโรคชนิดหนึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าปกติ.
มรุ : (ปุ.) เทวดา วิ. ทีฆายุกาปิ สมานา มรนฺติ สีเลนาติ มรุ. มรฺ ปาณจาเค, อุ. ภูเขา, ที่กันดารน้ำ, ทะเลทราย.
มาลุวา : (อิต.) เครือเถาย่านทราย, เครือย่านทราย, เถาย่านทราย, เถาย่างทราย, เถากระพังโหม.
มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
มิคสารงฺค : (ปุ.) ทรายทอง ชื่อเนื้อ, เนื้อ, เนื้อทราย (กวาง).
มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
ยาคุ : (ปุ.) ข้าวต้ม, ข้าวยาคู ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยข้าวอ่อน คือ เกี่ยวเอารวงข้าวที่ยังเป็นน้ำนม คั้นเอาแต่น้ำนมใส่ภาชนะตั้งไฟเคี่ยว ใส่น้ำตาล เคี่ยวพอข้นเหนียวจึงยกลง มีกลิ่นหอม รับประทานอร่อย. ยา ปุณเน, คุ. มิสฺสเน วา, คุ, อุสฺสา.
วณฺณุปถ : ป. ทะเลทราย
วาลุกาปุญฺช : ป. กองทราย
วาลุกาปุลิน : นป. หาดทราย
สกฺขรา : อิต. น้ำตาล, น้ำตาลกรวด
สารงฺค : (ปุ.) เนื้อ, เนื้อทราย, กวาง, จามจุรี. วิ. เสน สุเขน รงฺคติ ปลายตีติ สารงฺโค, สปุพฺโพ, รงฺคฺ คมเน, อ. ส. สารงฺคฺ.
สาว : (วิ.) ดำเหลือง, ดำแดง, น้ำตาลแก่.
สินฺทุวาร : (ปุ.) ย่างทราย, ย่านทราย ชื่อเถาวัลย์ป่า ใบใหญ่. วิ. สินฺทุ ํ คพฺภพนฺธนํ วาเรตีติ สินฺทุวาโร.