ปฏิสณฺฐิต : กิต. (อันเขา) คุ้มครองแล้ว; บริบูรณ์
ปริปูรติ : ก. เต็มเปี่ยม, บริบูรณ์
ปูเรติ : ก. เต็ม, บริบูรณ์
สมตฺต : ค. จบ, บริบูรณ์
อาปูรติ : ก. เต็ม, บริบูรณ์, ให้เต็ม
อุตฺตม : (วิ.) ดีที่สุด, เด่นที่สุด, ยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, มากมาย, บริบูรณ์, อุดม. วิ. อพฺภุโต อพฺภูโต วา อตฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุคฺคตตมตฺตา วา อุตฺตโม. อุศัพท์ ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ บางคัมภีร์เป็น อุพฺภโต อพฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุพฺภโต อตฺยตฺโถ อุตฺตโม. มติ ผู้เขียน. ส อุตฺตม.
อุพฺภติ : ก. เต็ม, บริบูรณ์
เกวลปริปุณฺณ : ค. บริบูรณ์โดยสิ้นเชิง, ครบบริบูรณ์
ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
ปริปุณฺณ : กิต. เต็มเปี่ยมแล้ว, บริบูรณ์แล้ว, พร้อมสรรพแล้ว
ปริปุณฺณตา : อิต. ความบริบูรณ์, ความเต็ม, ความเพียบพร้อม
ปริปูเรติ : ก. ให้เต็ม, ให้บริบูรณ์
ปาริปูริ, ปาริปูรี : อิต. ความเต็มรอบ, ความบริบูรณ์
ปาริสุทฺธิ : อิต. ความบริบูรณ์, ความสะอาด, ความหมดจด
ปุณฺณ : ค. บริบูรณ์, เต็ม
ปุณฺณตา : อิต. ความเต็ม, ความบริบูรณ์
สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
อนิฏฺฐิต : ค. ไม่สำเร็จ, ไม่บริบูรณ์
อปริปุณฺณ : ค.ไม่เต็มเปี่ยม, ไม่บริบูรณ์
อภิปูเรติ : ก. ให้เต็ม, ให้บริบูรณ์; บรรจุ
อภิสนฺน : ค. ไหลออกแล้ว, เต็มแล้ว, บริบูรณ์แล้ว
อากิริตตฺต : นป. ความเต็ม, ความบริบูรณ์
อุพฺภ : (ปุ. นปุ.) ความเต็ม, ความบริบูรณ์. อุพฺภฺ ปูรเณ, อ.
โอภ : (ปุ.) ความเต็ม, ความบริบูรณ์. อุภฺ ปูรเณ, โณ.