นิกสาว : ค. ปราศจากอาสวะ, บริสุทธิ์
นิทฺธมติ : ก. ขจัดออก, ปัดออก, เป่าออก, สะอาด, บริสุทธิ์
นิทฺโธต : ค. ซึ่งล้างแล้ว, อันซักแล้ว, อันชำระแล้ว, อันลับแล้ว, อันสะอาด, บริสุทธิ์
นิทฺโธวติ : ก. ล้าง, ซัก, ชำระ, ทำให้สะอาด, บริสุทธิ์
นิมฺมล : ค. ซึ่งไม่มีมลทิน, สะอาด, บริสุทธิ์
เนล, (เนฬ) : ค. สะอาด, บริสุทธิ์
ปฏิมุตฺต : ค. หมดจด, บริสุทธิ์
ปริโยทาต : ค. ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์
ปริสุชฺฌติ : ก. หมดจด, บริสุทธิ์
ปสีทติ : ก. เลื่อมใส, ศรัทธา, ยินดี, สะอาด, บริสุทธิ์
ปาวก : ๑. ป. ไฟ ;
๒. ค. สว่าง, สดใส, บริสุทธิ์
มฏฺฐ : (วิ.) เกลี้ยง, เลี่ยน, เตียน, ราบ, สะอาด, บริสุทธิ์, มชฺ สุทฺธิยํ, โต.แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ ชฺ.
วิสท : ค. ฉลาด, บริสุทธิ์
สุทฺธ : (วิ.) ไม่เจือปน, หมดจด, แจ่มใส, ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์, ล้วน, ล้วน ๆ, แท้, สิ้นเชิง, ผุดผ่อง. สุทธฺ โสเจยฺเย, โต, ทฺวิตฺตํ, ธโลโป.
อกาจ : ค. สะอาด, บริสุทธิ์
อวฺยาเสก : ค. ไม่ระคน, ไม่คลุกเคล้า ; บริสุทธิ์
อสงฺกิลิฏฺฐ : ค. ไม่เศร้าหมอง, บริสุทธิ์
โอทาตก : ค. ขาว, บริสุทธิ์; ผู้นุ่งขาวห่มขาว
ปริสุทฺธิ : อิต. ความหมดจด
ชุ : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว, ใส, งาม, บริสุทธิ์. ชุ ทิตฺติยํ, อ.
นิมล นิมฺมล : (วิ.) มีความมัวหมองออกแล้ว, ไม่มีความมัวหมอง, หมดความมัวหมอง, มีมลทินออกแล้ว, ไม่มีมลทิน, หมดมลทิน, สะอาด, ใส, บริสุทธิ์. ส. นิรฺมล.
ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
สุกฺก : (วิ.) ขาว, เผือก, สะอาด, สว่าง, สุกใส, ดี, ผ่อง, บริสุทธิ์.
สุจิ : (วิ.) ขาว, เผือก, เผือกผ่อง, ผ่องใส, สะอาด, หมดจด, บริสุทธิ์. สุจฺ โสจเน. ปกาสเน วา, อิ. ส. ศุจิ.
อเนฬ : ค. ๑.ไม่มีโทษ, ไม่มีความผิด;
๒. บริสุทธิ์
กฏุวิย : ค. ไม่บริสุทธิ์, เศร้าหมอง
กตชาติหิงฺคุลิก : ค. ตกแต่งแล้วด้วยสีแดงอันบริสุทธิ์
กมฺมวิสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งกรรม
กสมฺพุชาต : ค. สกปรก, ไม่บริสุทธิ์, เลว
กายสุจิ, กายโสเจยฺย : นป. ความสะอาดแห่งกาย, กายบริสุทธิ์
กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
คหณิก : ค. ผู้บริสุทธิ์มาแต่กำเนิด; ผู้มีไฟธาตุย่อย
คามปูฏว : (ปุ.) ชาวบ้านผู้มีการทำให้บริสุทธิ์, ชาวบ้านผู้มีการชำระผิว, ชาวบ้านผู้ชอบ แต่งผิว. คาม+ปูฏว.
จ : (วิ.) บริสุทธิ์, สะอาด. อุ. จํ สีลํ สุทฺธสตฺตานํ. ศีลบริสุทธิ์แก่สัตว์ผู้บริสุทธิ์ ท.
จตุปาริสุทฺธิสีล : (นปุ.) ศีลอันภิกษุพึงให้เต็ม ด้วยเป็นศีลยังผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มี องค์สี่, ศีลยังภิกษุผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มีองค์สี่ ( มีสี่ข้อ ).
ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
ชญฺญ : ค. บริสุทธิ์, งาม, เลิศ, ประเสริฐ, มีสกุล, ผู้รู้
ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
ทกฺขิณาวิสุทฺธิ : อิต. ความหมดจดแห่งทักษิณา, ความบริสุทธิ์แห่งไทยธรรมที่นำมาถวาย
ทิฏฺฐิวิสุทฺธิ : อิต. ทิฏฐิวิสุทธิ, ความหมดจดแห่งทิฐิ, ความเห็นบริสุทธิ์, ความเห็นถูกต้อง
นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
นิณฺหาต : ค. ซึ่งสะอาด, อันบริสุทธิ์
นิปาว นิปฺปาว : (ปุ.) การฝัด, การชำระ, การทำให้บริสุทธิ์. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, โณ.
นิพฺพาเปติ : ก. ทำให้เย็น, ทำให้ดับ, ทำให้บริสุทธิ์
ปโยคสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งความพยายาม, ความหมดจดแห่งการประกอบความพยายาม
ปริโยทปนา : อิต. ความผ่องแผ้ว, ความบริสุทธิ์
ปริโสธน : นป. ความบริสุทธิ์, การชำระล้าง