Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: บริหารร่างกาย, ร่างกาย, บริหาร , then บรหารรางกาย, บริหาร, บริหารร่างกาย, ปริหาร, รางกาย, ร่างกาย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : บริหารร่างกาย, 86 found, display 1-50
  1. กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
  2. กรชกาย : ป. กรัชกาย, ร่างกาย, กายที่เกิดจากธุลี
  3. กเลวร กเลวฬ กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
  4. เขตฺต : นป. สวน, นา, ไร่, ที่อยู่; เมีย; ร่างกาย
  5. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  6. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  7. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  8. เทห : (ปุ. นปุ.) กาย,ร่างกาย,ตัว,เนื้อตัว,รูป,รูปร่าง,อัตภาพ.ทิหฺอุปจเย,โณ.
  9. ปิณฺฑ, - ฑก : ป. ก้อน, ก้อนข้าว, การเลี้ยงชีพ, ร่างกาย, การประมวล
  10. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  11. ภูตกาย : ป. ร่างกายที่เป็นแล้ว, ร่างกาย
  12. รูป : นป. รูป, ร่างกาย, อารมณ์ที่พึงรู้ด้วยตา
  13. สรีร : (นปุ.) ร่าง (ตัว), กาย, ร่างกาย, ตัว, ตน, ตัวตน, สรีระ, วิ. สรตีติ สรีรํ. สรฺ คติยํ, อีโร. สรนฺติ วาตํ หึสนฺตีติ วา สรีรํ. สรฺ หึสายํ. อภิฯและฎีกาฯ ลงอีรปัจ. รูปฯ ลง อิร ปัจ. ทีฆะ.
  14. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  15. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  16. อุปธิ : (ปุ.) รูป, ร่าง, ร่างกาย, จักร, กิเลส เครื่องยังทุกข์ให้เข้าไปตั้งไว้, กิเลสเครื่อง เข้าไปทรง, กิเลสเครื่องทรงทุกข์ไว้, กิเลส ชื่ออุปธิ, กิเลศ, ความพัวพัน. อุปปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. ส. อุปธิ.
  17. ปริหรติ : ก. นำไป, บริหาร
  18. ปริหาร : ป. การบริหาร, การคุ้มครอง, การป้องกัน, การดูแล
  19. ชีวมนฺทิร : ป. ร่างกาย
  20. พุนฺทิ : ป. ร่างกาย
  21. อุจจงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, ส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย (ส่วนใดส่วนหนึ่งก็ได้ สรีระก็ได้). อุจฺจงฺคสทฺโท องฺคสามญฺญวาจโก สรีร- วาจโก วา. วิ. อุสฺสชฺชติ เอตฺถาติ อุจฺจงคํ. อุปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, อ, สสฺส จาเทโส, ทฺวิตฺตํ, ชสฺส โค, นิคฺคหิตาคโม. ฏีกาอภิฯ.
  22. กเลพร , กเลวร : นป. ร่างกาย, อัตภาพ, ซากศพ
  23. กเฬพร, - วร : ป., นป. ร่างกาย, อัตภาพ, ซากศพ
  24. กุจฺฉิปริหาร : นป. การบริหารท้อง, การเลี้ยงชีวิต
  25. กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
  26. กลฺลสรีร : ค. มีสรีระแข็งแรง, มีร่างกายแข็งแรง
  27. กายกสาว : ป. ความหมักหมมแห่งร่างกาย, ความสกปรกที่มีอยู่ในร่างกาย
  28. กายคตาสติ : (อิต.) สติอันไปแล้วในกาย, สติอันไปในกาย, กายคตาสติ คือการใช้ สติควบคุมจิตพิจารณาร่างกาย เช่น ผม ขน เล็บ เป็นต้น ให้เห็นว่าไม่งาม.
  29. กายคนฺธ : ป. กิเลสเครื่องร้อยรัดกาย; กลิ่นเกิดจากกาย, เครื่องหมอสำหรับลูบไล้ร่างกาย
  30. กายคุตฺต : ค. ผู้มีร่างกายอันคุ้มครองแล้ว, ผู้รักษากายได้แล้ว, ผู้มีกายสงบ
  31. กายคุตฺติ : อิต. การคุ้มครองร่างกาย, ความสงบแห่งกาย
  32. กายงฺค : นป. องค์ของกาย, อวัยวะแห่งร่างกาย
  33. กายทรถ : ป. ความกระวนกระวายแห่งร่างกาย, ความทุกข์กาย
  34. กายธาตุ : อิต. กายธาตุ, หมวดกาย, ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายคือ ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ
  35. กายปริหาริก : ค. ผู้บริหารกาย, ผู้รักษากาย
  36. กายมจฺเฉร : อิต. ความตระหนี่ร่างกาย, ความเห็นแก่ตัว
  37. กายมุทุตา : อิต. ความอ่อนของร่างกาย, ความอ่อนแห่งนามธรรมคือเจตสิก
  38. กายรถ : ป. รถคือกาย, รถมีลักษณะดุจร่างกาย
  39. กายวิการ : ป. กายวิการ, ความพิการทางร่างกาย
  40. กายวิชมฺภน : นป. ความว่องไวของร่างกาย, การบิดกาย
  41. กายสกฺขี : ค. ผู้มีตนเป็นพยาน, ผู้ยกตนขึ้นเป็นพยาน; ผู้บรรลุธรรมโดยยึดร่างกายเป็นเหตุ
  42. กายสมฺปีฬน : นป. การเบียดเบียนกาย, การบังคับร่างกาย
  43. กุจฺฉิปริหาริก : ค. ผู้บริหารท้อง, (อาหาร) สำหรับบริหารท้อง
  44. ขนฺธปริหรณทุกฺข : (นปุ.) ทุกข์ในเพราะอันบริหารซึ่งขันธ์
  45. ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
  46. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  47. คพฺภปริหรณ : นป. การบริหารครรภ์, การรักษาครรภ์, การทะนุถนอมครรภ์
  48. จตุจกฺก : ค. มีจักรสี่ (หมายถึงร่างกายของมนุษย์), มีสี่ล้อ
  49. โชติมาลิกา : อิต. การทรมานร่างกายอย่างหนึ่งคือการย่างตน
  50. ถุลฺลสรีร : ค. ผู้มีร่างกายใหญ่โต, ผู้มีกายอ้วน
  51. [1-50] | 51-86

(0.0627 sec)