อธิการ : (ปุ.) คุณอันบุคคลพึงกระทำยิ่ง, คุณวิ-เศษเครื่องทำยิ่ง. ภาระ, หน้าที่, การปกครอง, การบังคับบัญชา, เรียกเจ้าอาวาสซึ่งมิได้เป็นเจ้าคณะว่าพระอธิการเรียก ผู้อำนวยการวิทยาลัยว่าอธิการถ้าเป็นมหาวิทยาลัยเรียกว่าอธิการบดี.ส. อธิการ.
ทเมติ : ก. ฝึก, ข่ม, ทรมาน, บังคับ, สอน, ชักจูงให้มานับถือ
นิยเมติ : ก. กำหนด, จำกัด, บังคับ, แสดงความหมาย
นิยาเมติ : ก. กำหนด, จำกัด, บังคับ, ปกครอง, แนะนำ
อาณาเปติ : ก. สั่ง, บังคับ
กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
กายสมฺปีฬน : นป. การเบียดเบียนกาย, การบังคับร่างกาย
ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
ขิปนาวุธ : (นปุ.) อาวุธอันพุ่งไป, ขีปนาวุธ ชื่ออาวุธที่ใช้แรงอัดให้พุ่งไป เป็นอาวุธที่ มีการบังคับวิถีให้ไปตามทิศทางที่ต้องการ.
คุตฺตทฺวารตา : อิต. ความเป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้ว, การบังคับตนได้
คุตฺตินฺทฺริย : ค. ผู้มีอินทรีย์อันคุ้มครองแล้ว, ผู้บังคับตนได้
ฐิตตฺต : ๑. นป. ความเป็นผู้ดำรงอยู่, ความเป็นผู้ตั้งมั่น,
๒. ผู้มีตนอันตั้งมั่นแล้ว, ผู้บังคับหรือควบคุมตนได้
ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
ทูหน : นป. การปล้น, การซุ่มทำร้าย, การบีบบังคับ; การรีดนม
เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
ธนาตฺติ : (อิต.) การบังคับในเพราะเงิน, การบังคับเกี่ยวกับเงิน, ธนาณัติ คือการส่งเงินทางไปรษณีย์ตราสารซึ่งไปรษณีย์แห่งหนึ่งส่งไปให้ไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งตามที่ผู้ส่งเงินต้องการให้ส่ง.
นาวิกสาสน : (นปุ.) ข้อบังคับเกี่ยวกับการเดินเรือ, กฎหมายเกี่ยวกับการเดินเรือ ในน่านน้ำทั่วไป, นาวิกศาสน์. ส. นาวิกศาสน.
นิคฺคณฺหาติ : ก. ตำหนิ, ติเตียน, ข่ม, บังคับไว้, จับไว้
นีติ : อิต. การนำไป, การแนะนำ, กฎ, ข้อบังคับ
ปฏิพาฬฺห : ค. ซึ่งถูกบีบคั้น, ซึ่งถูกบังคับ, อันถูกข่มขู่, อันบำบัด
ปสยฺห : อ. โดยอำนาจ, อย่างมีอำนาจ, อย่างมีกำลัง, โดยบังคับ
เปส : (ปุ.) การส่งไป, การใช้ไป, การบังคับ, การพุ่ง, การใช้สอย. ปิสฺเปสเน, เปสฺ คติยํ วา, อ, ยุ.
เปสน : (นปุ.) การส่งไป, การใช้ไป, การบังคับ, การพุ่ง, การใช้สอย. ปิสฺเปสเน, เปสฺ คติยํ วา, อ, ยุ.
พลกฺการ : (ปุ.) การกระทำซึ่งกำลัง, การกระทำด้วยกำลัง, การข่มเหง, ความข่มเหง, พลการ (ใช้อำนาจบังคับตามอำเภอใจ).
ยต : กิต. บังคับ, ควบคุม, งดเว้น, สำรวมแล้ว
ยุคคฺคาห : ป. การแข่งขันกัน, การบังคับ
ยุทฺธวินย : (ปุ.) ระเบียบแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ข้อบังคับแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, กฏแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ.
วินย : ป. ข้อควรแนะนำ, วินัย, ข้อปฏิบัติ, ข้อบังคับ
สยมติ : ก. สำรวม, บังคับใจตน
สารถิ : (ปุ.) คนบังคับม้า, คนผู้ยังมาให้ระลึก, วิ. สาเรตีติ สารถิ. สรฺ จินฺจายํ, ถิ. คนไปกับด้วยรถ, คนขับรถ, สารถี. วิ. รเถน สห สรตีติ สารถิ. อิณฺ ปัจ. สรฺ คติยํ วา, ถิ. ส. สารถิ.
สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
อนตฺต : (วิ.) มีตนหามิได้, ไม่มีตน, ไม่มีตัวตน, มิใช่ตน, มิใช่ตัวตน, บังคับมิได้, บังคับไม่ได้, อนัตตา (ไม่อยู่ในอำนาจของเรา ไม่มีเจ้าของที่แท้จริง).น+อตฺต.
อาณตฺติ : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, ข้อบังคับ, ข้อบังคับที่นัดหมายกันไว้, คำบังคัง, คำสั่ง, กฏ.อาณฺธาตุติปัจ.แปลงติเป็นตฺติ.ส. อาชฺญปฺติ.
อาณตฺติก : (วิ.) เกี่ยวด้วยการบังคับ, ประกอบด้วยการบังคับ, ฯลฯ.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
อาณตฺติกปโยค : (ปุ.) ประโยคเกี่ยวด้วยการบังคับ, ฯลฯ.
อาณา : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, คำสั่ง, คำสั่งบังคับ, อำนาจ, อำนาจปกครอง, อาชญา, อาญา.อาณฺเปสเน, อ, อิตฺถิยํอา.ส. อาชฺญา.
อาณาเขตฺต : (นปุ.) อาณาเขต(ที่ดินที่อยู่ในบังคับเขตแดนในอำนาจปกครอง).ส. อาชฺญาเกษตฺร.
อาณาเทสนา : (อิต.) การแสดงถึงบังคับ, การแสดงถึงข้อบังคับ, คำสอนที่เป็นการบังคับ, คำสอนที่เป็นข้อบังคับ, คำสอนสำหรับบังคับ, อาณาเทศนาได้แก่พระวินัยปิฏก.
อาณาปก : ๑. นป. คนออกระเบียบข้อบังคับประจำเมือง ;
๒. ค. ผู้สั่ง, ผู้บังคับ, ผู้ออกระเบียบ
อาณาปน : (วิ.) อันยัง....ให้บังคับ, ฯลณ.
อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
อิทฺธิพล : (นปุ.) กำลังแห่งความสำเร็จ, กำลัง อันยังผลให้สำเร็จ, อิทธิพล (กำลังอำนาจ). คำอิทธิพล ไทยใช้ทั้งในทางดีและทางเสีย ทางดี เช่น อิทธิพลของดวงดาว ทางเสีย เช่น ใช้อิทธิพลบังคับให้ยินยอม.