ปาก : ป. การหุงต้ม; การทำให้สุก; ผลของกรรมอันสุกงอมเต็มที่
ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
ทฬฺหปรกฺกม : ค. มีความบากบั่นมั่นคง, มีความพากเพียรเด็ดเดี่ยว
ปโยคกรณ : นป. การกระทำความเพียร, การกระทำความมุ่งมั่นบากบั่น, การประกอบกิจ
ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
ปรกฺกมติ : ก. บากบั่น, มุ่งมั่น, พากเพียร, ก้าวหน้า
ปรกฺกม, - มน : ป., นป. ความบากบั่น, ความมุ่งมั่น, ความพากเพียร
สมุสฺสาเหติ : ก.ให้เกิดความบากบั่น, เร่งเร้า
อายูหก : ค. ผู้มีความเพียรพยายาม, ผู้มีความบากบั่น
อุฏฐาน : นป. การลุกขึ้น, ความพยายาม, การเริ่มตั้งความเพียร, ความบากบั่นของบุรุษ
อุฏฐายิกา : อิต. ความเพียรพยายาม, ความบากบั่น
ปากฏ : ค. ปรากฏแล้ว, รู้แล้ว, มีชื่อเสียง; ซึ่งคุ้มครองไม่ได้; สามัญ; เลว
ปากฏฺฐาน : นป. สถานที่หุงต้ม, ครัว
ปากต : ค. ดู ปากฎ
ปากติก : ค. ซึ่งเป็นปกติ, ซึ่งเป็นไปตามธรรมชาติ
ปากเตล : นป. น้ำมันงาที่เคี่ยวให้เดือดแล้วสำหรับใช้ทาตัว
ปากวฏฺฏ : นป. เครื่องยังชีพ; การให้อาหารประจำ
ปากสสน : ป. พระอินทร์
ปากหส : ป. หงส์ขาว
กมฺมวิปาก : (ปุ.) ผลอันเกิดแต่กรรม, ผลของ กรรม. ส. กรฺมวิปาก, กรฺมฺมวิปาก.
ทฺวาร : (นปุ.) ประตู, ปาก, ช่อง, อุบาย, ทาง. ทฺวรฺ สํวรเณ, โณ, อภิธัมมวิภาวินีปท โยชนาเป็น ทฺวารฺ ธาตุ อ. ปัจ. เป็น ทฺวารา
มหาวิปากจิตฺต : (นปุ.) จิตมีผลแห่งความดีมาก, มหาวิปากจิต มี ๘ ดวง.
วทน : นป. การกล่าว; หน้า, ปาก
กฏุกวิปาก : ค. ดู กฏุกปผล๒
กณฺฐกปากส : ป. บังเหียน, เชือกบังเหียน
กณฺหวิปาก : ค. มีวิบากคือผลชั่ว
กมฺปาก : ป. ลม
กามาวจรวิปาก : นป. จิตซึ่งเป็นผลท่องเที่ยวไปในกาม
กุสลวิปาก : ป. กุศลวิบาก, ผลแห่งกรรมดี
โกลสมฺปาก : ค. ซึ่งให้สุกกับด้วย (น้ำคั้น) ผลพุทรา, ซึ่งเคี่ยวหรือกวนกับ (น้ำคั้น) ผลพุทรา
จมฺปาก : (นปุ.) นครจัมปาก์.
ฌมฺปาก : ป. ลิง
เตลปาก : ป. การต้มด้วยน้ำมัน, การหุงด้วยน้ำมัน, ทำให้สุกด้วยน้ำมัน, ทอด
ถาลิกปาก : (ปุ.) สำรับ (ภาชนะที่ใส่กับข้าว คาวหวาน).
ถาลิปาก : ป. หม้อข้าว, การเลี้ยงเพื่อมงคล
ทุกฺขวิปาก : ค. มีวิบากเป็นทุกข์, มีทุกข์เป็นผล
ทุกฺวิปาก : (วิ.) มีทุกข์เป็นผล, มีทุกข์เป็นวิบาก.
โทณปาก : ค. (ข้าวสุก) ซึ่งหุงสุกแล้วจากข้าวสารหนึ่งโทณะ, ซึ่งหุงด้วยข้าวสารหนึ่งทะนาน
โทณมาปาก : ค. (มหาอำมาตย์) ผู้ตวงด้วยโทณะ = มีหน้าที่เกี่ยวกับการตวงข้าวค่านา
นิปฺปาก : (วิ.) หุง, ต้ม, สุก.
นิปาก : ค. อันเจริญเต็มที่, อันสุกเต็มที่
ปฏิปากติก : ค. ซึ่งกลับเป็นปกติ, ซึ่งคืนตัว, ซึ่งอยู่ในสภาพปกติ
ปุฏปาก : ป. ของที่หุงต้มแล้วซึ่งเก็บไว้ในถุงหรือในห่อ
ผลวิปาก : (ปุ.) ความสุกวิเศษแห่งผล, ความสุกวิเศษแห่งผลแห่งกรรม.
วิปาก : ป. วิบาก, ผล
สตปาก : นป. น้ำมันหุงร้อยครั้ง
สปาก : (ปุ.) แปลและวิเคราะห์เหมือน สปจ. แปลกแต่ลง ณ ปัจ. ทีฆะแปลง จ เป็น ก.
สปาก, (โสปาก) : ป. คนจัณฑาล
โสปาก : ป. คนวรรณะต่ำ, คนจัณฑาล; ผู้ปรุงให้ดีขึ้น
หวฺยปาก : (ปุ.) ภาชนะเครื่องสังเวย, ถาดเครื่องเซ่นสังเวย. วิ. หวฺยสฺส ปาโก หวฺยปาโก, แปลว่าเครื่องเซ่นสังเวยก็ได้.