กิส, กิสก : ค. ผอม, บาง, ร่างน้อย
กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
กีส : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ. กิสฺ สาเน, อ. ทีโฆ.
ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
นิคม : (ปุ.) ย่านการค้า, หนทางพ่อค้า, ตลาด, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใหญ่, ตำบล, บาง, นคร, เวท, คำซ้ำ, คำกล่าวซ้ำ. ส. นิคม.
เอกทา : (อัพ. นิบาต) บางครั้ง, บางที, บาง คราว, ในกาลหนึ่ง, ในกาลบางครั้ง, ใน กาลบางคราว, ในกาลครั้งหนึ่ง.
ขุร : (วิ.) คม, บาง.
กทาจน : อ. บางครั้ง, บางคราว, ทันที
กทาจิ : อ. บางครั้ง, บางคราว, ทันที
กทา จิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, บางคราว, ดอกกระมัง.
กทาจิกรหจิ : อ. บางครั้ง, บางคราว, นานนานครั้ง
กทาจุปตฺติก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นในกาลบางครั้ง
กรหจิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน ๆ, บางครั้ง. ส. กรหิจิตฺ.
กรหิ : อ. ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางคราว
กฺวจิ : (อัพ. นิบาต) บ้าง, บางที, ในบางที, ใน บางที่, ในบางแห่ง, ในที่ใดที่หนึ่ง. ส. กฺวญฺจิตฺ.
กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
กาฬานุสารี : (ปุ.) กะลำพัก ชื่อแก่นไม้ ซึ่ง เกิดจากต้นไม้บางชนิดซึ่งมีอายุมาก เช่น ต้นสลัดไดเป็นต้นมีกลิ่นหอม.
กุทา : อ. ในกาลไร? เมื่อไร? ในกาลบางครั้ง
กุทาจน : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, ในการไร, ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางที, ในการไหน ๆ. วิ. กสฺมึ กาเล กุทาจนํ. กึ+ทาจนํ ปัจ. ลงในอรรถ กาลสัตตมี.
กุทาจน, - น : อ. ในกาลไหนๆ, ในกาลบางครั้งบางคราว
กุหิญฺจน : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในบางครั้ง
โกจิ : ป., ค. ใครๆ, คนบางคน; บางคน, บางอย่าง
ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
คหกูฏ : (นปุ.) เรือนยอด. คห+กูฏ บางมติใช้ เคห แปลง เค เป็น ค หรือแปลง เอ เป็น อ.
คินิ : (ปุ.) คินิ ชื่อไฟชื่อ ๑ ใน ๑๘ ชื่อ, ไฟ. วิ. โค รํสิ เอตสฺสาตฺถีติ คินิ. ค ศัพท์ อินิ ปัจ.อภิฯ. บางมติว่ามาจาก อคฺคินิ ตัด อคฺ ออก.
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
จลนี : (ปุ.) เนื้อฉมัน, เนื้อสมัน, ไก่เถื่อน, ลิงลม, บ่าง, เลียงผา, ชนี.
จิงฺคุลก, - คูลก : นป. ลูกเดือย, (บางแห่งเป็น ฑิงฺคุลก ก็มี เป็น ฑงฺคุลก ก็มี)
ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
ตจฺฉติ : ก. ถาก, ถาง, ผ่า, ตัด, ทำให้บาง
ตจฺฉน : นป. การถาก, การผ่า, การตัด, การทำให้บาง
ตจฺฉิต : ค. ถากแล้ว, ทำให้บางแล้ว
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
ตนุกต : (วิ.) ถาก, ทำให้บาง, วิ. ตนุ กรียเตติ ตนุกโต.
ตนุกรณ : (นปุ.) การถาก, การทำให้บาง, การ ไส. ตนุปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ.
ตนุตร : ค. บางกว่า, น้อยกว่า
ตนุตา : อิต., ตนุตฺต นป., ตนุภาว ป. ความผอม, ความบาง, ความน้อย
ตนุมชฺฌิม : (วิ.) อันมีในท่ามกลางตัว, เอว บางร่างน้อย.
ตุลิย : (ปุ.) นกเค้าแมว ชื่อนกที่หากินกลาง คืนมีหน้าคล้ายแมว, บ่าง ชื่อสัตว์สี่เท้า ชนิดหนึ่ง ตัวคล้ายกระรอก โตเกือบเท่า ค่าง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อิโย. เป็น ตุลฺลิย บ้าง.
ถน : (ปุ.) นม (อวัยวะสองเต้าที่หน้าอก สัตว์ บางชนิดมีหลายเต้า), เต้านม, ถัน. ตนุ วิตฺถาเร, อ, ตสฺส โถ. ถรฺ เทวสทฺเท วา, อ. เถนฺ โจริเย วา. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ.
เถรก : ค. (ผ้า) มีเนื้อหยาบ (บางแห่งเป็นเถวก, โจรก, หรือ โธรก )
ทฬฺหธมฺม : ค. มีธรรมมั่นคง, ขมัง, เรี่ยวแรง, แข็งขัน, ชำนิชำนาญ (ในศิลปศาสตร์บางประการ), มีความสามารถ
ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
ปกฺขพิลาล : ป. นกเค้าแมว, ค้างความแม่ไก่ (ค้างคาวใหญ่ บางตัวมีช่วงปีกกว้างถึงห้าฟุต)
ปตนุ : ค. บางมาก, แบบบาง, น้อยยิ่ง
ปทม : (นปุ.) บัว, บัวหลวง (บัวแดง), ดอกบัว. บางมติว่า แผลงเป็น ปทฺม ได้. ส. ปทฺม.
ปเทสการี : ค. ผู้ทำสำเร็จเพียงบางส่วนคือ ผู้ได้สำเร็จอริยผล ๓ เบื้องต้นและอรหัตตมรรค
ปเทสญาณ : นป. ความรู้ในธรรมเพียงบางส่วน, ความรู้ที่มีขอบเขตจำกัด
ปเทสโพธิสตฺต : ป. ผู้เป็นพระโพธิสัตว์เพียงบางส่วน คือประกอบด้วยลักษณะของพระโพธิสัตว์แต่เพียงบางประการ