Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: บาท , then บาท, บาทา, ปาท .

ETipitaka Pali-Thai Dict : บาท, 89 found, display 1-50
  1. ปาท : ป., นป. เท้า, เชิง, เสี้ยว, เศษหนึ่งส่วนสี่; ราก, ปุ่ม
  2. กหาปณ : (ปุ. นปุ.) กหาปณะ ชื่อมาตราเงิน ๒๐ มาสก เป็น ๑ กหาปณะ เป็นเงิน ไทยประมาณ ๔ บาท หรือ ๑ ตำลึง. วิ. กรีสปฺปมาเณน รูเปน กโต ปโณ ปณิโย ทพฺพเภโท กหาปโณ. แปลง รีส เป็น ห แล้วทีฆะ อภิฯ และเวสฯ ๕๖๗.
  3. นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
  4. มาสก : (ปุ.) มาสก ชื่อมาตรานับเงิน ๒ กุญชาเป็น ๑ มาสก ๕ มาสกเป็น ๑ บาท. มสฺ อามสเน, ณฺวุ.
  5. สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
  6. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  7. อนุปาท : ก. วิ. ตามรอยเท้า, ตามรอยบาท
  8. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  9. คาถาปท : นป. บาทคาถา, คาถาบาทหนึ่ง
  10. จตุปฺปาทก, - ทิก : ค. (คาถา) มีสี่บาท
  11. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  12. ตลลญฺจน : (นปุ.) รอยแห่งพื้น, บาทฐาน.
  13. ปาทกชฺฌาน : นป. ฌานอันเป็นบาทฐาน
  14. ปาทมตฺต : ค. ซึ่งมีประมาณหนึ่งบาท, ซึ่งมีบาทหนึ่งเป็นประมาณ
  15. ปาทงฺคุฏฺฐก : นป. ดู ปาทงฺคุฏฺฐ
  16. ปาทงฺคุลิ : อิต. ดู ปาทงฺคุฏฺฐ
  17. ปาทกุทาริกา : อิต. เขียงเท้า
  18. ปาทคฺค : นป. ปลายเท้า, ปลายตีน
  19. ปาทคณฺฐี : อิต. ข้อเท้า, ข้อตีน
  20. ปาทฆสนี : อิต. ผ้าเช็ดเท้า; วัตถุสำหรับเช็ดเท้า
  21. ปาทงคท : นป. ดู ปาทกฏก
  22. ปาทงฺคุฏฺฐ : นป. นิ้วเท้า, หัวแม่เท้า
  23. ปาทจลน, - จาร : นป. การไหวเท้า, การกระดิกเท้า, การสั่นเท้า, การย่างเท้า
  24. ปาทฉิทฺท : นป. ช่วงวงเท้า, ก้าว
  25. ปาทฏฺฐิก : นป. กระดูกเท้า, กระดูกขา
  26. ปาทตล : นป. ฝ่าเท้า
  27. ปาทโธวน : นป. การชำระหรือล้างเท้า
  28. ปาทปุญฺฉน : นป. เครื่องเช็ดเท้า
  29. ปาทโผฏ : ป. โรคเท้าแตก
  30. ปาทมูล : นป. พื้นเท้า, ฝ่าเท้า
  31. ปาทโลล : ค. ผู้เตร่ไปมา, ผู้คะนองเท้า, จะกละ, อยากได้
  32. ปาทวิสาณ : ป. เดือย, เขาที่เท้า
  33. ปาทสมฺพาหน : นป. ดู ปาทปริกมฺม
  34. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  35. กกุฎปาท : ค. มีเท้าเหมือนเท้านกพิราบ
  36. กากปาท : ป., นป. กากบาท, รอยกา, ตีนกา
  37. กามพฺยาปาทวิหึสาวิตกฺกวสิกตา : (อิต.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งกาม วิตก และพยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก, ความที่แห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจ....
  38. กุณปาท กุณปาทก : (วิ.) ผู้กินซากศพ. กุณ ป ปุพฺโพ, อทฺ ภกฺขเณ, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  39. กุลีรปาท, - ทก : ค. (เตียง) มีขาเหมือนก้ามปู
  40. กุฬีรปาท : (ปุ.) เตียงมีขาดังปู, เตียงมีขา ดังก้ามปู.
  41. คณฺฐิปาท : นป. คำที่เป็นดุจปม, คำพูดที่มีเงื่อนงำ, คำพูดที่คลุมเครือ
  42. คณฺฑุปฺปาท : ป. ไส้เดือน
  43. คณฺฑุปาท คณฺฑุปฺปาท : (ปุ.) สัตว์ผู้ยังปุ๋ย ให้เกิด, ไส้เดือน, รากดิน (ไส้เดือน). วิ. คณฺฑํ วจฺจสนฺนิจยํ อุปฺปาเทตีติ คณฺฑุปฺปา- โท. กฺวิ ปัจ.
  44. คุฬฺหปาท : (ปุ.) สัตว์มีเท้าซ่อนแล้ว, งู.
  45. จตุปท จตุปฺปท จตุปาท จตุปฺปาท : (วิ.) มีเท้า สี่ (สี่เท้า)วิ. จตฺตาริ ปทานิ เอตสฺสาติ จตุป โท, ฯลฯ
  46. จิตฺตุปฺปาท : (ปุ.) การยังจิตให้เกิดขึ้น, การบัง เกิดขึ้นแห่งจิต. ความบังเกิดขึ้นแห่งจิต, ความบังเกิดขึ้นแห่งความคิด.
  47. ชาลปาท : ป. เป็ด, ห่าน
  48. ชาลหตฺถปาท : ค. ฝ่ามือและฝ่าเท้ามีลายดุจตาข่าย
  49. ตณฺหุปฺปาท : ป. ดู ตณฺหาสมุทย
  50. ถูลปาท : ป. ช้าง
  51. [1-50] | 51-89

(0.0677 sec)