กณเวร : (ปุ.) ชะบา, ต้นชะบา.
กูฏงฺค : นป. บ่า, ไหล่, จะงอยบ่า
เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
ภุชสิร : (ปุ.) บ่า, ไหล่. วิ. ภุชานํ สิโร มตฺถกํ ภุชสิ-โร.
ยวสูก : ป. หนวดข้าวบาเล่ย์, หนวดข้าวโพด
สูก : ป. หนวดข้าวบาเล่ย์, หนวดข้าวโพด
อกฺขา : (อิต.) ลูกบาสก์.
อภิณฺหโส : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เสมออภิฯเป็นปุนัปปุนัตถนิบาตรูปฯเป็นกาลสัตตมีนิบาต.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
ปานมณฺฑล : นป., ปานาคาร ป., นป. ร้านเครื่องดื่ม, โรงดื่ม
ปาริม : ค. อันมีในฝั่งโน้น (มักใช้ในรูปสมาสว่า ปาริมตีร = ฝั่งโน้น)
อภิปาเตติ : ก. ให้ตกไป, ขว้าง, ปา
ปาการ : ป. ป้อม, ปราการ, กำแพง
ปาการปริกฺขิตฺต : ค. ซึ่งมีกำแพงล้อมรอบ
ปาการปริกฺเขป : ป. การล้อมด้วยกำแพง, รั้ว
ปาการิฏฺฐิกา : อิต. อิฐที่ก่อกำแพง
ปากาสิย : ค. ซึ่งปรากฏ, เห็นชัด, แจ่มแจ้ง
ปากุล : ค. อากูล, คั่งค้าง, ไม่สำเร็จ, ยุ่งเหยิง
ปาคุญฺญตา : อิต. ความชำนาญ, ความฉลาด
ปาคุส : ป. ปลาชนิดหนึ่งตัวใหญ่ปากใหญ่
ปาจก : ค. ผู้หุงต้ม, ผู้ปรุงอาหาร
ปาจน : นป. การหุงต้ม, การปรุงอาหาร; ปฏัก, ไม้เท้า
ปาจริย : ป. อาจารย์ของอาจารย์, อาจารย์ผู้ใหญ่, ปรมาจารย์
ปาจาเปติ : ค. ให้หุงต้ม, ให้ปรุงอาหาร
ปาจิกา : อิต. แม่ครัว
ปาจีนก : ค. อันมีในทิศตะวันออก
ปาชน : นป. การขับไป, การไล่ไป; ปฏัก
ปาชาเปติ : ก. ให้ขับไป
ปาชิก : ป. ผู้ขับ, นายสารภี
ปาชิต : ค. อันเขาขับไปแล้ว
ปาเชติ : ก. ขับไป
ปาตน : นป. การทำให้ตกไป, การฆ่า, การทำลาย
ปาตราส : ป. อาหารเช้า
ปาตาเปติ : ก. ให้ตกไป
ปาตาล : ป. บาดาล, นาคพิภพ, เมืองนาค; ไฟใต้ทะเล
ปาติ : ๑. อิต. ถาด, ถ้วย, จาน, บาตร;
๒. ก. เลี้ยง, รักษา, คุ้มครอง
ปาติก : นป. ถาดน้อยๆ , ถ้อยน้อยๆ , จานน้อยๆ