ทกฺขิเณยฺยคฺคิ : ป. ไฟคือทักขิไณยบุคคล, ไฟหนึ่งในเจ็ดกองที่พุทธมามกะพึงบำรุงบำเรอบ้าง พึงเสียสละบ้าง
สุสฺสูสา : (อิต.) การฟังด้วยดี, การตั้งใจฟัง, การบำเรอ, การบำรุง, การปฏิบัติ, การรับใช้.
ปฏฺฐ : ๑. ค. สามารถ; ซึ่งแผ่ไป, เข้มแข็ง ;
๒. อ. รับใช้, บำเรอ
ปฏิชคฺคติ : ก. ปฏิบัติ, บำรุง, ดูแล, เลี้ยงดู, ซ่อมแซม
ปทฺธ : ๑. ค. ฉลาด, สามารถ, เชี่ยวชาญ;
๒. ค. อ. รับใช้, บำเรอ
อาปาเทติ : ก. พยาบาล, บำรุง, รักษา, ผลิตขึ้น
อุปฏฐหติ : ก. อุปัฏฐาก, บำรุง, คอยรับใช้, คอยเอาใจใส่
ปจฺจุปฏฺฐาติ : ก. บำรุง
กามปาล : ป. การบำรุงกาม, การรักษาสิ่งที่ประสงค์
กามิตฺถิ : อิต. หญิงบำเรอกาม
กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
คิลานุปฏฺฐาก : (ปุ.) คนบำรุงคนเจ็บ, ฯลฯ, คนพยาบาลคนไข้, คิลานุปัฏฐาก (ผู้ พยาบาลภิกษุไข้).
ชคฺคติ : ก. ดูแล, รักษา, เอาใจใส่, บำรุงเลี้ยง, ระวัง
ทิยฑฺฒสหสฺสปริจาริกา : (อิต.) นางบำเรอมี พันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณ, นางบำเรอหนึ่งพันห้าร้อยนาง.
ทุพฺภร : ค. ซึ่งเลี้ยงได้ยาก, ซึ่งเป็นคนเลี้ยงยาก, ซึ่งปฏิบัติตนให้คนอื่นบำรุงเลี้ยงได้ยาก
ปจฺจุปฏฺฐาน : นป. การบำรุง
ปฏิชคฺคก : ค. ผู้ปฏิบัติ, ผู้บำรุง, ผู้ดูแล, ผู้เลี้ยงดู
ปฏิชคฺคน : นป. การปฏิบัติ, การบำรุง, การดูแล, การเลี้ยงดู, การซ่อมแซม
ปฏิชคฺคนก : ค. ผู้ปฏิบัติ, ผู้บำรุง, ผู้ดูแล, ผู้เลี้ยงดู
ปฏิชคฺคาเปติ : ก. ให้ปฏิบัติ, ให้บำรุง, ให้ดูแล, ให้เลี้ยงดู
ปฏิชคฺคิต : กิต. (อันเขา) ปฏิบัติแล้ว, บำรุงแล้ว, ดูแลแล้ว, เลี้ยงดูแล้ว
ปฏิชคฺคิย : ค. พึงปฏิบัติ, ซึ่งควรปฏิบัติ, ควรบำรุง, ควรซ่อมแซม
ปริจรณ : (นปุ.) การบำเรอ, ความบำเรอ. ปริปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
ปริจรติ : ก. บำเรอ, รับใช้, ประพฤติรอบคอบ
ปริจริยา : (อิต.) การบำเรอ, ฯลฯ. อิย ปัจ. ความประพฤติ. จรฺ จรเณ.
ปริจารณา : อิต. ความดูแล, การตรวจตรารอบๆ , การบำเรอ
ปริจาริก : (ปุ.) คนรับใช้, คนบำเรอ, ทาส, บ่าว, ทาสรับใช้. ปริปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ณิโก.
ปริจาเรติ : ก. บำเรอ, รับใช้
ปาทปริจาริกา : อิต. หญิงผู้บำเรอแทบเท้า, เมีย, ภรรยา
ปาริจริยา : อิต. การบำเรอ, การรับใช้, การบริการ
ปาริหาริย : ค. ซึ่งควรรักษา, ซึ่งบำรุง, ซึ่งเลี้ยง
พานี : (อิต.) นางฟ้า (ผู้บำเรอเทวบุตร)?
พุทฺธุปฺปฏฺฐาก : ค. ผู้บำรุงพระพุทธเจ้า
พุทฺธุปฺปฏฺฐาน : นป. การบำรุงพระพุทธเจ้า
มาตุปฏฺฐาน : (นปุ.) การบำรุงมารดา.
สาสนูปถมฺถก : (วิ.) ผู้บำรุงพระศาสนา, ผู้ทะนุบำรุงพระศาสนา, ศาสนูปถัมภก เป็นคุณบทของพระมหากษัตริย์.
อภิปาล : (ปุ.) การรักษายิ่ง, การบำรุงรักษา, การปกครอง, อภิบาล.ส.อิบาล.
อภิโรปน : (นปุ.) การบำรุง, ความบำรุง.
อาจริย : (ปุ.) อาจารย์ วิ. สิสฺสานํหิตมาจรตีติอาจริโย.อนฺเตวาสิกานํหิตํมุเขนอาจรติปวตฺตตีติวาอาจริโย (ผู้ประพฤติเอื้อเฟื้อแก่ศิษย์).อาทิโตปฏฺฐายจริตพฺโพอุปฎฺ-ฐาตพฺโพติ วาอาจริโย (ผู้อันศิษย์พึงบำรุงตั้งแต่แรก).อาทเรนจริตพฺโพติ วาอาจริโย(ผู้อันศิษย์พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ). อาปุพฺโพ, จรฺจรเณอุปฏฺฐาเน วา, โย, อิอาคโม.แปรเป็นอาเจรบ้าง. รูปฯ๖๓๘.ส.อาจรฺย.
อุปฏฺฐ หน : (นปุ.) การอุปถัมภ์, การบำรุง. อุปปุพฺโพ, ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํโยโค, หฺอาคโม.
อุปฏฐาก : ป. อุปัฏฐาก, ผู้รับใช้, ผู้บำรุง, ผู้ปฏิบัติ
อุปฏฺฐาก : (วิ.) ผู้อุปถัมภ์, ผู้บำรุง, ผู้รับใช้. ณฺวุ ปัจ.
อุปฏฐาน : นป. การอุปัฏฐาก, การคอยรับใช้, การบำรุง, การปฏิบัติ
อุปฏฺฐาน : (นปุ.) การอุปถัมภ์, ฯลฯ, ที่บำรุง, ที่เป็นที่บำรุง, ที่เป็นที่เข้าไปยืน, โรงฉัน. วิ. อุปคนฺตฺวา ติฏฺฐติ เอตฺถาติ อุปฏฺฐานํ. ยุ ปัจ.
อุปฏฐานสาลา : อิต. ศาลาเป็นที่บำรุง, หอฉัน, โรงฉัน
อุปฏฐาเปติ : ก. ให้เข้าไปตั้งไว้, ให้เข้าไปคอยปฏิบัติ, ให้เข้าไปบำรุง
อุปฏฐิย : กิต. อุปัฏฐากแล้ว, บำรุงแล้ว
อุปิตฺถี : อิต. เมียน้อย, นางบำเรอ