กฏกฏายติ : ก. กด, บด, บีบ, ลับ; ประพฤติเสียงดังกฏะกฏะ
โกฏเฏติ : ก. ทุบ, ฟาด, บด, ขยี้, โขลก, ตำ, ตี
ฆสติ : ก. ขัด, สี, ถู, บด; ยินดี, ชอบใจ, ร่าเริง
นิปฺโผเฏติ : ก. ตี, โบย, ทุบ, ต่อย, บด, ขยี้, ทำลาย
นิมฺมาเทติ : ก. ขยี้, กด, บีบ, บด; ลบหลู่; เอาออก
ปุณฺฑติ : ก. ถู, ขูด, ขัด, บด
ปูติ, - ติก : ค. เสีย, เน่า, บูด
สญฺจุณฺเณติ : ก.ขยี้, ทำลาย, บด
อุคฺฆเสติ : ก. ถู, บด, ขัด, สี
ปริยาปุต : กิต. เล่าเรียนแล้ว, ขวนขวายแล้ว
ฆสน : นป. การขัด, การสี, การถู, การบด
จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
จุณฺณิต : กิต. (อันเขา) บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียดแล้ว
จุณฺเณติ : ก. บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียด
นิปฺโปฐน : นป. การตี, การโบย, การบด, การกด, การขยี้, การทำลาย
นิสท : ป. หินบด, หินลับมีด
นิสทโปต, -ก : ป. ลูกหินบด
ปิส : ค. บดแล้ว, สีแล้ว, ขยำแล้ว
ปิสติ, (ปึสติ) : ก. บด, ขยำ, คั้น
ปิสน, (ปึสน) : นป. การบด, การขยำ, การทำลาย
ปิสิต : ๑. นป. เนื้อ ;
๒. ค. อันเขาบด, อันเขาขยำ, อันเขาทำลายแล้ว
ปึสติ : ก. บด, สี, ขยำ
ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
เปรณ : (นปุ.?) อันบด, อันขยี้, อันย่ำ, อันทำให้ละเอียด, การบด,ฯลฯ. ปิสฺจุณฺณเน, ยุ. แปลง ส เป็น ร อิ เป็น เอ.
เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
โปถน : (นปุ.) อันโปย, อันตี, อันทุบ, อันบด, อันขยี้, การโบย, ฯลฯ. โปถฺ ปริยา-ปนภาเว, ยุ.
มทฺทน : (นปุ.) การนวด, การย่ำยี, การบด, การทำลาย. ยุ ปัจ.
มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
วิจุณฺเณติ : ก. บดให้ละเอียด, ทำลาย
สงฺโกจ : ป. การเบี้ยวบูด, การสยิ้วหน้า; รูปวิบัติ
สงฺขาทติ : ก. เคี้ยว, บดอาหาร
สณฺเหติ : ก. บด, ลับ, ขัด
เสตปณฺณิ :
(อิต.) ไม้หมากลิง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง มีต้นและผลคล้ายหมาก, มะดูก ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ผลขนาดไข่ไก่ กินได้, มะลื่น ต้นกระบก ตระบด ก็เรียก. ดู เสปณฺณิ ด้วย.
อปฺปจฺจย : ๑. ป. ความบูดบึ้ง, ความไม่พอใจ ;
๒. ค. ไม่มีปัจจัย, ไม่มีเหตุ
อปิสุณาวาจ : (วิ.) มิใช่ผู้มีวาจาอันบดเสียซึ่งความรัก, ผู้มีวาจามิใช่วาจาอันบดเสียซึ่งความรัก.
อปิสุณาวาจา : (อิต.) วาจามิใช่วาจาอักบดเสียซึ่งความรัก, วาจาไม่ส่อเสียด.
อาภิโทสิก : ค. เนื่องด้วยเย็นวานนี้, ตอนเย็น, ที่บูดเน่า, ค้างคืน
อามทฺทน : นป. การขยี้, การบด, การนวด, การขยำ
อุปปิสน : นป. การบด, การทำให้ละเอียด