ชินปุตฺต ชิโนรส : (ปุ.) บุตรแห่งพระชิน, บุตร แห่งพระพุทธเจ้า, พระสงฆ์.
อภิชาต อภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตร ชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่า ตระกูล).
กมฺมชวาต กมฺมชฺชวาต : (ปุ.) ลมเกิดแล้วแต่ กรรม ลมอันเกิดแต่กรรม, ลมเกิดแต่ กรรม, ลมเบ่ง, กัมมชวาต กัมมัชชวาต กรรมัชวาต (ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอด บุตร). ส. กรฺมชวาต.
เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
ทายท : (ปุ.) คนผู้อันมารดาบิดาพึงให้มรดก, ลูก, ลูกชาย, บุตร.
สุนุ : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, บุตร. สุ สนฺธานปาณคพฺภิโมจนสวเนสุ, นุ.
สูนุ : ป. บุตร
อปจฺจ : (นปุ.) เหล่ากอ, เทือกเถาเหล่ากอ, เชื้อสาย, หว่านเครือ, ลูกหลาน, ลูก, บุตร.วิ.นรเกนปตติอเนนปชาชาเตนาติอปจฺจํ.
กมฺมารปุตฺต : (ปุ.) บุตรของนายช่างทอง, ช่างทอง. กมฺมารปุตฺโต วุจฺจติ สุวณฺณกาโร. ไตร. ๓๐/๗๑๖.
กากวญฺญา : อิต. หญิงที่มีบุตรคนเดียว
กุลปุตฺต : (ปุ.) บุตรแห่งตระกูล, ลูกชายผู้มี ตระกูล. มีนัยเดียวกันกับ กุลธีตุ.
คพฺภวุฏฐาน : นป. การคลอดบุตร
คพฺโภจน : (นปุ.) การคลอดบุตร, การคลอดลูก. คพฺภ+มุจน ลบ ม แปลง อุ เป็น โอ.
จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
ฉพฺยาปุตฺต : (ปุ.) ฉัพยาบุตร ชื่อตระกูลช้าง ชื่อพญานาคราช.
ชินปุตฺต : ป. ชินบุตร, สาวกของพระพุทธเจ้า
ตรุณปุตฺต : (วิ.) มีบุตรอ่อน, มีลูกอ่อน.
เทว : (ปุ.) เทวะ ชื่อของเทพทั้ง ๓ คือ อุปัตติ เทพ วิสุทธิเทพ และ สมมุติเทพ, เทพ, เทพเจ้า, เทพยะ, เทพยดา, เทพบุตร, เทวดา. วิ. ทิพฺพนติ ปญฺจกามคุณาทีหิ กีฬนฺตีติเทวา. ทิวุ กีฬายํ, โณ. วิ. นี้เฉพาะ อุปัตติเทพ และสมมุติเทพ. เทวะที่หมาย ถึงวิสุทธิเทพ มี วิ. ว่า โลกุตฺตรธมฺเม โลกุตฺตรธมฺเมหิ วา ทิพฺพนฺติ เทโว (ผู้บรรลุโลกุตตรธรรม หรือผู้รุ่งเรืองด้วย โลกุตตรธรรม). ทิวุ คติยํ ชุติยํ วา, โณ.
เทวกุมาร : ป. เทวกุมาร, เทพบุตร
เทวตา : (อิต.) เทวดา, เทพดา, เทพยดา, เทวัญ. คำ เทวตา นี้หมายเอาทั้ง เทพบุตร เทพธิดา และพรหม. เทโว เอว เทวตา. ตา ปัจ. สกัด. อภิฯ และรูปฯ ๓๖๕. ศัพท์ ที่แปลว่า เทวดา มี ๑๕ ศัพท์ และใช้เป็น พหุ. ทั้งสิ้น. ส. เทวตา.
เทวปุตฺต : (ปุ.) เทวบุตร, เทพบุตร, เทวดา ผู้ชาย. ส. เทวปุตฺร.
ธนธญฺฐปุตฺตทาราทิ : (วิ.) มีทรัพย์และข้าว เปลือกและบุตรและภรรยาเป็นต้น.
ธมฺมเสนาปติ : (ปุ.) แม่ทัพแห่งธรรม, พระ เถระผู้เป็นเสนาบดีเพราะธรรม, พระ ธรรมเสนาบดี, พระสารีบุตร.
ปรปุตฺต : ป. บุตรของคนอื่น
ปาฏลิปุตฺต : นป. เมืองปาฎลิบุตรในแคว้นมคธ
ปุตฺต : ป. บุตร, ลูกชาย
ปุตฺตก : ป. บุตรน้อย, ลูกชายคนเล็ก
ปุตฺตตฺต : นป. ความเป็นบุตร
ปุตฺตทาร : ป. บุตรและภรรยา, ลูกและเมีย
ปุตฺตผล : นป. ผลคือบุตร
ปุตฺตมส : นป. เนื้อของบุตร
ปุตฺตวนฺตุ, ปุตฺติมนฺตุ, ปุตฺติย : ค. ผู้มีบุตร, ผู้มีลูก
ปุตฺติยติ : ก. ประพฤติเป็นเพียงดังว่าบุตร
พลเทว : ป. พลเทพ, เป็นชื่อของบุตรคนที่สองของนางเทวคัพภาและอุปราชชื่อสาคร
พานี : (อิต.) นางฟ้า (ผู้บำเรอเทวบุตร)?
พินฺทุมตี : อิต. ชื่อของหญิงนครโสเภณีคนหนึ่งในเมืองปาตลีบุตร สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
พุทฺธปญฺห : ป. ปัญหาที่เกี่ยวกับพระพุทธมนต์ ซึ่งพระสารีบุตรถามปริพพาชิกา ชื่อกุณฑลเกสี
พุทฺธปุตฺต : ป. บุตรของพระพุทธเจ้า; อริยสาวก
มหาสาวก : (ปุ.) พระสาวกผู้ใหญ่ เว้นพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ เพราะสองท่านนี้ท่านเป็นพระอัครสาวก. แต่คำว่าพระมหาสาวก ๘๐ ก็รวมด้วย.
มาตลี : (ปุ.) มาตลี ชื่อเทพบุตรผู้เป็นสารถีของรถพระอินทร์ วิ. มาตลาย อปจฺจํ มาตลี. ณี ปัจ. มา มาตา วิย สตฺตานํ หิตสุขํตลตีติ วา มาตลี. มาปุพฺโพ, ตลฺ ปติฏฺฐายํ, ณี.
สากิยปุตฺต : (ปุ.) บุตรของเจ้าศากยะ, สากิยบุตร(สาวกของพระพุทธเจ้า)”
สุทฺทขตฺตาช : (ปุ.) บุตรเกิดแต่นางกษัตริย์ กับด้วยศูทร วิ. สุทฺเทน ขตฺตาย ชาโต ปุตฺโต สุทฺทขตฺตาโธ.
สุยาม : (ปุ.) สุยามะ ชื่อเทพบุตร
อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ
ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
องฺคท : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไลต้นแขน, เครื่องประดับแขน. วิ, องฺคํ ทายติ โสเธตีติ องฺคทํ องฺคปุพฺโพ, ทา โสธเน, อ. องฺคฺคมเน วา, โท. ส. องฺคท องคท ชื่อบุตรของพาลีในเรื่องรามายณะ.
อตฺตช : ป. บุตร, ลูก, ผู้เกิดจากตน ; ผู้เกิดจากตน
อตฺรช : ๑. ป. บุตร, ผู้เกิดจากตน;
๒. ค. ซึ่งเกิดจากตน
อติชาตปุตฺต : (ปุ.) อติชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ความประพฤติดีสูงกว่าตระกูลพ่อแม่).
อนุชาตอนุชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรเสมอด้วยตระ-กูล, บุตรชั้นกลาง, อนุชาตบุตร (ผู้เกิดตามมาไม่ดีหรือเลวกว่าตระกูล).
อนุชาต อนุชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรเสมอด้วยตระ- กูล, บุตรชั้นกลาง, อนุชาตบุตร (ผู้เกิดตาม มา ไม่ดีหรือเลวกว่าตระกูล).