กูฏงฺค : นป. บ่า, ไหล่, จะงอยบ่า
ภุชสิร : (ปุ.) บ่า, ไหล่. วิ. ภุชานํ สิโร มตฺถกํ ภุชสิ-โร.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
ปุฏส : ค. มีถุงหรือย่ามห้อยอยู่บนบ่า
สงฺฆาฏิ : อิต. ผ้าพาดบ่า
อสกูฏ : (ปุ.) จะงอยบ่า, หัวไหล่ก็แปล. ส. อํสกูฏหนอก, เปลี่ยวโค (เนื้อที่นูนขึ้นที่คอ).
อสพนฺธน : นป. ผ้าพาดบ่า, ผ้าสไบ.
อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
เอกส : (ปุ.) บ่าข้างหนึ่ง. เอก+อสํ.
กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
อุยฺยาน : (นปุ.) สวนเป็นที่แลดูในเบื้องบนไป, สวนเป็นที่แหงนดูเดินไปพลาง, สวนเป็น ที่รื่นรมย์, สวน, สะตาหมัน (สวน), ป่า, ป่าของพระราชา (ใช้ได้ทั่วไป), อุทยาน, พระราชอุทยาน, สวนหลวง. วิ. สมฺปนฺน- ทสฺสนียปุปฺผผลาทิตาย อุลฺโลเกนฺตา ยนฺติ ชนา เอตสฺมินฺติ อุยฺยานํ. ส. อุทฺยาน.
ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
ทิสมฺปติ : (ปุ.) ทิสัมปติ ชื่อของพระราชา, พระราชา. วิ. ทิสานํ ปติ ทิสมฺปติ (ผู้เป็นใหญ่แห่งทิศ ท.) ทิสํ ปาเลตีติ วา ทิสมฺปติ. ทิสาปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, ติ. รัสสะ อา ที่ สา และ ป่า ลงนิคคหิตอาคมที่บทหน้า แปลง เป็น ม.
วน : นป. ป่า
วิปิน : นป. ป่า
อุปวน : (นปุ.) สวน, สวนใหญ่, สวนดอกไม้. วิ. อุปคตํ อุปโรปิตํ วา วนํ อุปวนํ. ป่า ใกล้, ป่าใกล้เคียง. วิ. สมีปํ วนํ อุปวนํ. วิ. ใช้ สมีป แทน อุป. ที่ใกล้แห่งป่า วิ. วนสฺส สมีปํ อุปวนํ. กลับบทหน้าไว้หลัง.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว
กณฺฏกคหน : นป. กอหนาม, ป่าหนาม
กณเวร : (ปุ.) ชะบา, ต้นชะบา.
กปิญฺชล : ป. นกกะทา, นกป่า
กาโกณ : (ปุ.) กาป่า.
กาโกล : ป. นกดุเหว่า, กาป่า
กาโกล กาโกฬ : (ปุ.) กาป่า วิ. กาโก วิย อุลตีติ กาโกโล กาโกโฬ วา. อุลฺ คมเน, อ.
กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
กิราต : (ปุ.) คนป่า, คนร้าย, คนจัณฑาล. กิรฺ วิกิรเณ, อโต, ทีโฆ.
กึปุริส : ป. คนอะไร, คนเผ่าไหน; คนป่า; กินนร
กุฏสิมฺพลี, (โกฏิสิมฺพลี) : อิต. ไม้งิ้วป่า
กุพฺพนก : ป. ละเมาะไม้, ป่าย่อยๆ
กูฏสิมฺพลี : ป. ไม้งิ้วป่า
โกฏิสิมฺพลี : (ปุ.) ไม้งิ้วป่า. เป็น กสิมฺพล บ้าง.
ขฏฺฏิก : (ปุ.) พรานเนื้อ, พรานป่า. ส. ขฏฺฏิก.
ควช : (ปุ.) โคลาน (งัวลาน คืองัวป่า), โค เพลาะ (วัวโทน เที่ยวไปโดดเดี่ยว). วิ. โค วิย วชติ อชตีติ วา ควโช. วชฺ อชฺ วา คมเน, อ.
ควล : ป. ควายป่า, ควายกระทิง
คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
คหน : ๑. นป. ดง, ป่าทึบ, ป่าชัฏ;
๒. ค. ทึบ, หนา, ลึก, รกชัฏ
คหนฏฐาน : นป. ที่อาศัยในป่าชัฏ
โคธุม : (ปุ.) โคธุมะ ชื่อพืชจำพวกข้าวอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง, ข้าวละมาน ชื่อข้าวป่า ชนิดหนึ่งขึ้นแซมต้นข้าว ข้าวนก ก็เรียก. คุธฺ ปริเวธเน, อุโม. เป็น โคธูม ก็มี.
จตุรงฺคตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดมีองค์สี่ คือ ค่ำ ป่าชัฏ เมฆทึบ และเที่ยงคืน.
จารก : (ปุ.) คนเดินทาง, คนเดินป่า.
จุฬนิปฺผาว จุฬีนิปฺผาว : (ปุ.) ต้นยอป่า.
ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
ชมฺพุสณฺฑ : ป. ป่าไม้หว้า, หมู่ไม้หว้า
ตป (โป) วน : นป. สถานที่ควรแก่การบำเพ็ญตบะ, ป่าของผู้บำเพ็ญพรต
ตโปวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ทำซึ่งความเพียร เป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ป่าเป็นที่ บำเพ็ญพรต, วนะเป็นที่อยู่ของคนมีตบะ.
ตรุวน : นป., ตรุสณฺฑ ป. หมู่ไม้, ป่าไม้, ราวป่า
ติณคหณ : นป. กอหญ้า, ชัฏหญ้า, ป่าหญ้า
ติณทาย : ป., นป. ป่าหญ้า