ธุรคาม : ป. หมู่บ้านใกล้ๆ, บ้านใกล้เรือนเคียง
นิกฎ, นิกฏฐ : ๑. นป. ที่ใกล้เคียง, บ้านใกล้เรือนเคียง ;
๒. ค. ใกล้, ใกล้เคียง; นำลง
ปริสร : ป., นป. บ้านใกล้เรือนเคียง, ดินแดนติดต่อกัน
สนฺนิกฏฺฐ : ป. เพื่อนบ้านใกล้เรือนเคียง
เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
คิห : นป. บ้าน, เรือน, ใช้ในคำว่า อคิห ค. = ผู้ไม่มีเรือน (บรรพชิต)
เคหวตฺถุ : (นปุ.) บ้านและวัตถุ. บ้าน, เรือน, เหย้า. ๓ คำแปลนี้ วตฺถุ สกัด.
นิวสถ : (ปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. นิวสถ.
สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
อุปจาร : (วิ.) จวน, ใกล้, ใกล้เคียง, เฉียด, ซัดทอด, ใส่ความ.
นิกาส : ๑. ป. เพื่อนบ้าน, ที่ใกล้เคียง,
๒. ค. ในคำว่า “สนฺนิกาส = คล้าย, เหมือน, ใกล้เข้าไป”
กุฑ กุฑก กุฑฺฑ : (นปุ.) ฝา, ฝาบ้าน, ฝาเรือน. กุฏฺ เฉทเน, อ, ฏสฺส โฑ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ฏ เป็น ฑฺฑ.
กุลเคห : นป. เรือนแห่งตระกูล, บ้านประจำตระกูล
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
คหปติ : ป. คหบดี, พ่อบ้าน, พ่อเรือน, ผู้ชายเป็นเจ้าของบ้าน
คามนฺต : ป. บ้าน, เขตบ้าน, แดนบ้าน, ที่ใกล้บ้าน
คามวาสี : ป. ผู้อยู่ในบ้าน, ชาวบ้าน, ผู้อยู่ใกล้บ้าน (ภิกษุ)
คามสามนฺต : นป. ที่รอบๆ บ้าน, ใกล้บ้าน
คามูปจาร : ป. อุปจารแห่งบ้าน, ที่ใกล้บ้าน, ชานบ้าน, นอกบ้าน
คิญฺชกาวสถ : ป. บ้านเรือนหรือสถานที่ที่สร้างขึ้นด้วยอิฐหรือมุงด้วยกระเบื้อง
เคหชน : ป. เคหชน, คนที่อยู่ในบ้าน, สมาชิกในครัวเรือน
เคหทฺวาร : นป. ประตูบ้าน, ประตูเรือน
เคหนิสฺสิต : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, เกี่ยวข้องอยู่ในบ้าน, อันเกี่ยวกับชีวิตในครอบครัว
เคหปฺปเวสน : นป. การเข้าสู่เรือน, พิธีทำบุญขึ้นบ้านใหม่
เคหวิคต : นป. ทรัพย์สมบัติแห่งบ้านเรือน, อุปกรณ์แห่งเรือน
จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
ชมฺพาลี ชมฺพาฬี : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของ ไม่สะอาด, บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำครำ, ชมุ อทเน, อโล. ลง พ อักษรสุดธาตุ.
ธุรวิหาร : ป. วิหารที่ใกล้เคียง, วัดที่ใกล้เคียง
นิม : ป. หลัก, เสา; หลักปักสำหรับวัดหรือทำเครื่องหมายในการสร้างบ้านเรือน
นิเวส : ป. นิเวส, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้านเรือน, การตั้งภูมิลำเนาอยู่
ปาฏิกา : อิต. หินที่มีรูปเป็นอัฒจันทร์ที่บันไดบ้านเรือนหรือสำหรับล้างเท้า
สนฺนิเกต : (ปุ.) บ้านของตน, เรือนของตน, ส+นิเกต ซ้อน นฺ.
สนฺนิธาน : (นปุ.) การนับเนื่อง, การใกล้เคียง, การสะสม, การสั่งสม, ความนับเนื่อง, ฯลฯ. สํ นิ ปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ. ส. สนฺนิธาน.
สนฺนิธิ : (ปุ.) การรวบรวม, การใก้ลเคียง, การปรากฏเฉพาะหน้า, การสะสม, การสั่งสม, การนับเนื่อง, ความรวบรวม, ฯลฯ. อิ ปัจ. ที่ใกล้ ความประจักษ์ ก็แปล. ส. สนฺนิธิ.
สมานฺต : ค. รอบ ๆ , ใกล้เคียง
สมีป : (วิ.) ใกล้, ใกล้เคียง. วิ. สํคโต อาโป ยสฺมึ ตํ สมีปํ, ลบ คน แปลงนิคคหิต เป็น ม อา เป็น อี.
สามนฺต : (นปุ.) ที่ใกล้, ที่ใกล้เคียง.
หมฺมิย : (นปุ.) เรือนโล้น, ปราสาทโล้น. หรฺ หรเณ, โย, ยมฺหิ มิอาคโม, รสฺส โม. โบราณแปลว่าบ้านเศรษฐี. ทิมแถว(เรือนหลังคาตัด) ทิมคต ก็ว่า.
อคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส, คฤหัสถ์, ชาวบ้าน.
อนฺตรฆร : (นปุ.) ระหว่างแห่งเรือน, ละแวกแห่งบ้าน, ละแวกบ้าน.
อมาชาต : ค. ผู้เกิดในบ้าน, ทาสที่เกิดในเรือน
อโยฆร : นป. เรือนเหล็ก, บ้านที่ทำด้วยเหล็ก
อสามนฺต : ค. ไม่ใกล้เคียง, ไม่มีใครทัดเทียม, สามารถยิ่ง
อามาย : ค. ผู้เกิดในบ้าน, ผู้เกิดภายใน, ทาสในเรือนเบี้ย