ปกฺกม : ป. การก้าวไป, การจากไป, การหลีกไป
ปกฺกมติ : ก. หลีกไป
ปกฺกมิ : ก. หลีกไปแล้ว
ปกฺโกสติ : ก. ร้องเรียก
ปกฺโกสน : นป., - นา อิต. การร้องเรียก
ปกฺโกสิต : กิต. ร้องเรียกแล้ว
ปกฺขนฺทติ : ก. แล่นไป, กระโดดไป
ปกฺขนฺทน : นป. การแล่นไป, การกระโดดไป
ปกฺขนฺทิกา : อิต. โรคลงแดง, โรคบิด
ปกฺขนฺที : ป. ผู้แล่นไป, คนขี้คุย, คนคุยโต
ปกฺขาเลติ : ก. บ้วนปาก, ล้าง, ชำระ
ปกฺขิก : ค. เป็นไปในฝ่าย, เป็นไปในปักษ์
ปกฺขิกภตฺต : นป. อาหารที่ให้ประจำปักษ์
อปกฺกม : (ปุ.) การหนี, การถอยหนี, การล่าถอยวิ.อปวชฺเชตฺวากมนํอปกฺกโม.ส. อปกฺรมอปกฺรมณ.
อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
โอปกฺกม : (ปุ.) ความเพียร, อุปกฺกมศัพท์ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
กชฺโชปกฺกมก : นป. บุษราคัม, มณีชนิดหนึ่ง
กุสลปกฺขิก : ค. อันเป็นฝักฝ่ายแห่งกุศล
ปฏิปกฺขิก : ค. ซึ่งเป็นไปในฝ่ายตรงข้าม; ซึ่งอยู่ในฝ่ายตรงข้าม, อันเป็นปฏิปักษ์
ปรูปกฺกม : ป. การรุกรานของข้าศึก
โพธิปกฺขิก, โพธิปกฺขิย : ค. (ธรรม) ซึ่งเป็นฝักฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ซึ่งเป็นแนวทางแห่งการตรัสรู้
อนุปกฺกม : ค. ไม่ก้าวไป, ไม่เบียดเบียน(โรค)
อนุปกฺกุฏฺฐ : ค. ไม่ถูกตำหนิ
อนุปกฺขนฺทติ : ก. วิ่งตรงเข้าไปหา, ล่วงเกิน, แทรกแซง
อปกฺกมติ : ก. หนีไป, ไปปราศ
อวิปกฺกนฺต : ค. ไม่หลีกไปแล้ว, ไม่ก้าวล่วงไปแล้ว
อาคนฺตุกอุปกฺกิเลส : ป. อุปกิเลสที่จรมา
อุปกฺกนฺต : กิต. พยายามแล้ว, ต่อสู้แล้ว
อุปกฺกม : ป. การก้าวเข้าไปใกล้, การดำเนินการ
อุปกฺกมติ : ก. ก้าวเข้าไปใกล้, พยายาม, ลงมือทำ
อุปกฺกมน : นป. การเข้าไปใกล้, การต่อสู้, การเริ่มต้น
อุปกฺกิเลส : ป. อุปกิเลส, กิเลสเครื่องเศร้าหมอง
อุปกฺโกส : (ปุ.) การกล่าวโทษ. อุปปุพฺโพ, กุสฺ อวฺหาเณ, โณ. บาลีเป็น ปโกส.
อุปกฺโกสติ : ก. ด่าว่า, ติเตียน, กล่าวโทษ
อุปกิเลส อุปกฺกิเลส : (วิ.) เศร้าหมอง, หม่น หมอง, เปรอะเปื้อน.
อุฬูกปกฺขิก : ค. มีเครื่องประดับทำด้วยขนปีกนกฮูก
โอปกฺกมิก : (วิ.) มีความเพียร, เกิดเพราะ ความเพียร.
โอปกฺริยา : อิต. กระท่อม, ปะรำ
กากปกฺข : (ปุ.) ผมที่ขมวดไว้เป็นหย่อม ๆ (ผมเด็กขมวดแยกออกเป็น ๓ หย่อม หรือ ๕ หย่อม), ผมแหยม (ปอยผมที่เอาไว้เป็น กระจุกบนหัวนอกจากจุก), ไรผม, ปีกของ กา, ปีกกา. กากานํ ปกฺขสณฺฐ านตฺตา กากปกฺโข.
กุลล : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. วิ. กุกฺกุฏาทีนํ กุลํ ลุนาตีติ. กุลโล. กุลปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, กฺวิ. กุลติ ปกฺเข ปสาเรตีติ วา กุลโล, กุลฺ สนฺธาเน, อโล.
ฏ : (ปุ.) เสียง, สำเนียง, เสียงร้อง. ฏี ปกฺขนฺทเน, อ. การปิด, การปกปิด, การกำบัง, เครื่องปิด, ฯลฯ ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ. นก. ฏิ ฏี วา อากาสคมเน, อ.
ตุลา : (อิต.) ขื่อ, เสาขื่อ, ไม้ขื่อ, รอด, เสาดั้ง. วิ. ตุลยติ สํฆาเฏสุ ปติฏฐาตีติ ตุลา. ตุลฺ ปติฏฐายํ, อ, อสฺสุตฺตํ. ปกฺขานํ สมตาหิต ภาวกรณโต ตุลยติ เอตายาติ วา ตุลา. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ, อิตฺถิยํ อา.
โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
ภาสปกฺขิ : (ปุ.) นกแซงแซว, นกตระไน, นกกระไน. วิ. สุนฺทรากาเรน ปกฺเขน ยุตฺโต สกุโณ ปกฺขิ ภาสปกฺขิ.
สิทฺธนฺต : (ปุ.) ความเห็น, ลัทธิ. วิ. ฐโต ปกฺโข สิทฺธนฺโต. สิทฺโธ อนฺโต อเนนาติ สิทฺธนฺโต.
สุปณฺณ : (ปุ.) นกมีปีกงาม, ครุฑ. วิ. กนกรุจิรตฺตา โสภโน ปณฺโณ ปกฺโข ยสฺส โส สุปณฺโณ.