ปจฺจย : ป. เหตุ, เครื่องอาศัย
ติโรกฑฺฑ : (นปุ.) ภายนอกแห่งฝา, ภายนอก ฝา, นอกฝา.
ปริพาหิร : ค. ภายนอก
พหิ : อ. ภายนอก
พาหิร พาหิรา : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ใน ภายนอก.
กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
ติริย : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขว้าง, โดยกว้าง, โดยเบื้องขวาง, ใน เบื้องขวาง. รูปฯนามกัณฑ์ว่าเป็น สัตตมิยัตถนิบาต.
ติโร : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขวาง, ในเบื้องขวาง, ในภายนอก. รูปฯ นามกัณฑ์ว่าลงในอรรถสัตมี.
ติโรกฺข : ค. ผู้อยู่ภายนอก
ติโรคาม : ค. ภายนอกหมู่บ้าน
ติโรคุจฺฉิคต : ค. ผู้อยู่ภายนอกท้อง, ผู้คลอดแล้ว
ติโรคุฑฺฑ : นป. ภายนอกฝา, ภายนอกกำแพง
ติโรฉท : ป. ภายนอกที่กำบัง, ภายนอกม่าน
ติโรปพฺพต : (นปุ.) ภายนอกแห่งภูเขา, นอก ภูเขา, นอกเขา. วิ. ปพฺพตสฺส ปรภาโค ติโรปพฺพตํ รูปฯ ๓๒๓ .
ติโรปาการ : (นปุ.) ภายนอกแห่งกำแพง, ภายนอกกำแพง, นอกกำแพง.
ติโรรฏฺฐ : ป. ต่างประเทศ, รัฐภายนอก
ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
ปฏิหาหิร : ค. ซึ่งมีในภายนอก, ซึ่งอยู่ภายนอก, ซึ่งเร่ร่อนไม่มีที่อยู่
ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
ปวุตฺถ : ค. อยู่แล้ว, อาศัยอยู่ภายนอกบ้าน
พหิกรณ : นป. การกระทำไว้ในภายนอก
พหิคต : ค. ไปข้างนอก; อยู่ภายนอก
พหิทฺธารมฺมณ : (นปุ.) อารมณ์เป็นภายนอก.
พหินกฺขมน : นป. การออกไปภายนอก
พหิ พหิทฺธา : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ชั้นนอก, มีในภายนอก.
พาหิก : ค. ซึ่งมีในภายนอก, ซึ่งอยู่ข้างนอก
พาหิร : (วิ.) มีในภายนอก, เกิดในภายนอก. พหิ+อิร ปัจ.
พาหิรก : ค. มีในภายนอก, คนภายนอก, คนนอกศาสนา
พาหิรกกถา : อิต. กถาอันมีในภายนอกศาสนา, การพูดถึงเรื่องภายนอกศาสนา, เรื่องหยาบโลน
พาหิรกตป : ป. ตบะภายนอก, การบำเพ็ญเพียรนอกศาสนา (พุทธ)
พาหิรกปพฺพชฺชา : อิต. การบวชภายนอกพุทธศาสนา
พาหิรตฺต : นป. ความมีในภายนอก, ความเป็นแห่งบุคคลภายนอก
พาหิรติตฺถ : นป. ลัทธิภายนอก, คำสอนนอกศาสนาพุทธ
พาหิรทาน : นป. ทานภายนอก, ทานที่มอบให้แก่คนภายนอก (พุทธศาสนา)
พาหิรภณฺฑ : นป. ทรัพย์สมบัติภายนอก, สิ่งของภายนอกกาย
พาหิรมนฺต : นป. มนต์ภายนอก (พุทธศาสนา), คาถาอาคม; คำสอนภายนอก (พุทธศาสนา)
พาหิรรกฺขา : อิต. การป้องกัน, การรักษาโดยวิธีภายนอก
พาหิรโลมี : ค. มีขนในภายนอก
พาหิรสมย : ป. ลัทธิภายนอก (พุทธศาสนา)
พาหิรสฺสาท : ค. ผู้แสวงหาความสุขจากสิ่งภายนอก, ผู้ยินดีด้วยสิ่งภายนอก
พาหิราภิมุข : ค. ผู้มีหน้าเฉพาะต่อสิ่งที่มีในภายนอก, ผู้มุ่งหน้าสู่ภายนอก, ผู้มองไปข้างนอก
พาหิราส : ค. ผู้หวังในภายนอก, ผู้ปรารถนาสิ่งภายนอก
พาหิริม : ค. อันมีในภายนอก
สนฺตรพาหิร : ค. ภายในและภายนอก
อชฺฌตฺติก : (วิ.) อันเป็นไปภายใน, มีในภายใน, เฉพาะตัว, ส่วนตัว, ภายใน.อชฺฌตฺติกาพาหิรอายตนะภายในและอายตนะภายนอก.
อิทปจฺจย อิทปฺปจฺจย : (วิ.) (สังสารวัฏ) มีกิเลส มีอวิชชาเป็นต้นนี้เป็นปัจจัย. วิ. อิทํ อวิชฺชาทิ ปจฺจโย เอเตสนฺติ อิทปจฺจ โยอิทปฺปจฺจ โยวา. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่อเป็นบทปลง ลบ นิคคหิตโมคฯ สมาสภัณฑ์ ๕๕.