ปทุม : (ปุ.) ปทุม ( ผู้เจริญยิ่ง ผู้มีผิวคล้าย ดอกบัว ) ชื่อคน
ปทุมจฺฉรา : อิต. นางปทุมอัปสร, นางฟ้าผู้เกิดในดอกบัว
ปทุมราค : (ปุ.) ทับทิม, แก้วทับทิม, พลอยสี แดง, ปัทมราคะ, ปัทมราช. วิ. ปทุมญฺจาตฺร โกกนทํ, ตพฺพณฺณสทิโส มณิ ปทุมราโค. ฎีกาอภิฯ
ปทุมกณฺณิกา : อิต. ช่อฟ้ามีรูปเหมือนดอกบัว
ปทุมกลาป : (ปุ.) กลีบแห่งดอกบัว, กลีบบัว.
ปทุมคพฺภ : ป. ห้องแห่งดอกบัว, ช่องภายในกลีบของดอกบัว; กลีบบัว
ปทุมปตฺต : นป. ใบบัว, กลีบบัว
ปทุมปุญฺช : (ปุ.) ปทุมินี ( อิต. ) กอบัว.
ปทุมปุปฺผ : นป. ดอกบัว
ปทุมวฺยูห : ป. ยุทธวิธีแบบหนึ่งซึ่งมีการจัดพลรบเป็นแนวป้องกันรูปวงกลมซ้อนกันเป็นชั้นๆ
ปทุมสร : ป., นป. สระดอกบัว
ทณฺฑปทุม : นป. ปทุมชนิดมีก้าน
มหาปทุม : (นปุ.) ล้านโกฏิ, มหาปทุม ชื่อมาตรานับเลข ๑ มีสูญ ๑๒ สูญ.
รตฺตปทุม : ป. ปทุมแดง, บัวแดง
ปทม : (นปุ.) บัว, บัวหลวง (บัวแดง), ดอกบัว. บางมติว่า แผลงเป็น ปทฺม ได้. ส. ปทฺม.
อรวินฺท : (นปุ.) ทองแดง, ดอกบัว, ปทุม (บัว-หลวง), บัว, อรพินท์.วิ.อรํวินฺทตีติวาอรวินฺทํ.ส.อรวินฺท.
กุเสสย : (นปุ.) ดอกบัว, ปทุม. วิ. กุเส ชเล สยติ ติฏฺฐตีติ กุเสสยํ. กุสปุพฺโพ, สี สเย, โณ.
ภิสปุปฺผ : (นปุ.) ดอกบัว, ปทุม. วิ. ภิสโตปิ อุคฺคนฺตวา ปุปฺผตีติ ภิสปุปฺผํ. ภิสปุพฺโพ, ปุปฺผฺ วิกสเน, อ.
มุฬาลปุปฺผ : (นปุ.) ดอกบัว, ปทุม. วิ. มุฬาลโตปิ อุคฺคนฺตฺวา ปุปฺผตีติ มุฬาลปุปฺผํ.
ปทฺทม : (นปุ.) ดอกบัว, ดอกปทุม, ปัททมะ ชื่อสังขยาจำนวน ๑๐๐ โกฏิ.
ปทุมินี : อิต. ต้นปทุม, บัวหลวง; สระบัว
โปกฺขรณี : (อิต.) ตระพัง (บ่อน้ำ กระพัง. สะพังก็เรียก), ตระพังน้ำ (บ่อน้ำ), สระน้ำ, สระน้ำที่ตกแต่งสวยงาม, สระสี่เหลี่ยมจตุรัส, สระมีบัว, สระบัว, สระโบกขรณี. วิ. โปกฺขรํ ชลํ ปทุมญฺจ, ตํโยคา โปกฺขรณี. โปกฺขร+อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ อี อิต.
รตฺตมณี : ป. แก้วทับทิม, ปทุมราค
สาตกุมฺภ : (นปุ.) สาตกุมภะ ชื่อทองต่างชนิดอย่างที่๒ ใน ๔ อย่าง. สตกุมฺภํ ปทุมเกสร วณฺณํ, ตพฺพณฺณสทิสตฺตา สาตกุมฺภํ.
ปทุมี : ค., ป. มีดอกบัว, เนื่องด้วยดอกบัว, เหมือนดอกบัว; ช้างตระกูลหนึ่งมีตัวลาย