ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
อปนมติ, อปนาเมติ : ก. นำไป, นำออก, เนรเทศ, น้อมลง
คณ : (ปุ.) การนับ, การคำนวณ, หมวด, หมู่, ฝูง, พวก, ปนะชุม, หมู่แห่งภิกษุ, คณะ (กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งๆ หรือแผนกหนึ่งๆของ มหาวิทยาลัย). วิ. คณียติ อวยเวน สหาติ คโณ. คณฺ สํขฺยาเณ, อ.
อปิจ โย ปน : (อัพ. อุปสรรค) แม้นอนึ่งโสด.
ปนสวิเสส : (ปุ.) ทุเรียน.
ปนาเทติ : ก. บันลือลั่น, แผดเสียง, ตะโกน, โห่ร้อง (ด้วยความยินดี)
ปนาลิ ปนาฬิ ปนาลี : (อิต.) ทางน้ำไหล, รางน้ำ, ท่อน้ำ. ปปุพฺโพ, นลฺ คนฺเธ, อ. ฎีกาอภิฯ ว่าเป็น ปุ และ อิต.
ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
โคปน : (นปุ.) การคุ้มครอง, การรักษา, ความคุ้มครอง, ความรักษา. คุปฺ โคปนรกฺขเณสุ, โณ, ยุ.
โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
ปพนฺธกปฺปนา : (อิต.) ประพันธกถาศาสตร์ ( นิยายที่แต่งขึ้นต่อเนื่องยืดยาว ) วิ. ปพนฺเธเนว จ สวิตฺถาเรน กปฺปนํ ยสฺสา สา ปพนฺธกปฺปนา.
มนฺตชปฺปน : (นปุ.) การกล่าวมนต์, การร่ายมนต์, มนฺต+ชปฺปน.
มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
มิสฺส, มิสฺสก : ค. เจือ, ปน
มิสฺเสติ : ก. เจือ, ปน, ผสม
โวตฺถปน : นป. โวตถัปปน (จิต)
กญฺญชปฺปน : นป. การกระซิบ
กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
กมฺป กมฺปน : (วิ.) อันยัง...ให้ไหว, ไหว, หวั่น, สั่น, รัว. กมฺปฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
กมฺปน : นป., กมฺปา อิต. การไหว, ความเคลื่อนไหว
กมฺปนาการปตฺต กมฺปนาการปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึง แล้วซึ่งอาการคือความหวั่นไหว.
กมฺมตปฺปน : นป. ความเดือดร้อนเพราะกรรม
กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
การาปกฺขิปน : (นปุ.) การตัดสินจำคุก.
การาปน : นป. การสั่งให้ทำ
กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
ขชฺโชปก ขชฺโชปน : (ปุ.) หิงห้อย.
ขมาปน : นป. การบอกให้ยกโทษให้, การให้ขอขมา
ขาทาปน : นป. การให้เคี้ยวกิน, การป้อน
ขิปน : นป. การซัดไป, การขว้างปา
เขป เขปน : (นปุ.) การทิ้ง, การขว้าง. การขว้างไป, การโยนไป, ฯลฯ. ขิปฺ ฉฑฺฑนาทีสุ, อ, ยุ.
เขปน : นป. การสิ้นไป, การหมดไป
จิตฺตปโกปน : นป. การทำจิตใจให้กำเริบ, การทำจิตใจให้หวั่นไหว, การทำจิตใจให้สั่นสะเทือน
จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
เจตาปน : นป. การแลกเปลี่ยน, การซื้อขาย
โจปน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, การยัง...ไห้ หวั่นไหว. จุ จวเน, ณาเป ปัจ. เหตุ. และ ยุ ปัจ.
ฉตฺตุสฺสาปน : นป. การยกเศวตฉัตร คือ การขึ้นครองราชย์
ฉินฺนวาสนาปารุปน : (วิ.) ผู้มีผ้าสำหรับนุ่งและ ผ้าสำหรับห่มอันขาดแล้ว.
ฉุปน : (นปุ.) การถูก, ฯลฯ. ยุปัจ.
เฉทาปน : นป. การสั่งหรือใช้ให้ตัดหรือฉีก
ชปน ชปฺปน : (นปุ.) การกล่าว, การร่าย, การกระซิบ, ความปรารถนา. ชปฺ ชปฺป วจเน มานเส จ, ยุ.
ชปน, ชปฺปน : นป. การบ่น, การพูดอุบอิบ, การพึมพำ; การสาธยาย
ชปฺปนา : (อิต.) ความให้สัตว์เหนี่ยวรั้ง. ชปฺปฺ วจเน, ยุ.
ชปฺปา, ชปฺปนา : อิต. ความโลภ, ความอยากได้, ความหิว; การพูดเพื่อให้ได้มา