Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปนา , then ปน, ปนะ, ปนา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปนา, 211 found, display 1-50
  1. ปนาเทติ : ก. บันลือลั่น, แผดเสียง, ตะโกน, โห่ร้อง (ด้วยความยินดี)
  2. ปนาลิ ปนาฬิ ปนาลี : (อิต.) ทางน้ำไหล, รางน้ำ, ท่อน้ำ. ปปุพฺโพ, นลฺ คนฺเธ, อ. ฎีกาอภิฯ ว่าเป็น ปุ และ อิต.
  3. อปนมติ, อปนาเมติ : ก. นำไป, นำออก, เนรเทศ, น้อมลง
  4. กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
  5. ปพนฺธกปฺปนา : (อิต.) ประพันธกถาศาสตร์ ( นิยายที่แต่งขึ้นต่อเนื่องยืดยาว ) วิ. ปพนฺเธเนว จ สวิตฺถาเรน กปฺปนํ ยสฺสา สา ปพนฺธกปฺปนา.
  6. อุปกปฺปนา : อิต. ดู อุปกปฺปน
  7. กมฺปนาการปตฺต กมฺปนาการปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึง แล้วซึ่งอาการคือความหวั่นไหว.
  8. ชปฺปนา : (อิต.) ความให้สัตว์เหนี่ยวรั้ง. ชปฺปฺ วจเน, ยุ.
  9. ชปฺปา, ชปฺปนา : อิต. ความโลภ, ความอยากได้, ความหิว; การพูดเพื่อให้ได้มา
  10. ชีวิตตกปฺปนา : (อิต.) การจัดแจงชีวิต, ความคิด ในการดำรงค์ชีวิต, การเลี้ยงชีวิต.
  11. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  12. ปริโยทปนา : อิต. ความผ่องแผ้ว, ความบริสุทธิ์
  13. ปริสฺปฺปนา : อิต. การเลื้อย, การคลาน, การสั่นสะเทือน, ความสงสัย, ความลังเล
  14. พฺยปฺปนา : (อิต.) ความตริ, ความตรึก, วิตก, วปุพฺโพ, อปฺปฺ ปาปุณเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  15. ปนา : (อิต.) ความเป็นอยู่, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, อายุ. ยปฺ วตฺตเน, ยุ.
  16. ยาปนา : (อิต.) การยังอัตภาพให้เป็นไป, การยังชีวิตให้เป็นไป, ฯลฯ.
  17. อนุปสณฺฐปนา : อิต. ไม่หยุดอยู่, ความเป็นไปไม่ขาดระยะ
  18. อนุลปนา (อนุลฺปนา) : อิต. การกล่าวฟ้องร้อง, การกล่าวโทษ, การติเตียน
  19. อนูปนาหี : ค.ไม่ผูกโกรธ, ไม่พยาบาท
  20. ปนามน : นป. การเนรเทศ, การไล่ออก
  21. อปฺปนา : (อิต.) ความแนบแน่น, วิ.อปฺเปติสมฺปยุตฺตธมฺเมปาเปตฺยารมฺมณนฺติอปฺปนาอปฺปาปุณเน, ยุ, ทฺวิตฺตํ.
  22. อภินิโรปนา : (อิต.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
  23. อวกปฺปนา, โอกปฺปนา : อิต. การตระเตรียม, การจัดแจง
  24. อาฐปนา : อิต. การตั้ง, การประดิษฐาน
  25. อาสปฺปนา : อิต. การเลื้อยคลานไป, ความสงสัย
  26. โอกปฺปนา : อิต. การทำให้แน่วแน่, ความไว้วางใจ, ความเชื่อมั่น
  27. โอกปฺปนา โอกฺกปฺปนา : (อิต.) ความเชื่อ, ความเชื่อถือ. โอปุพฺโพ, กปฺ สามตฺถิเย, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  28. ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
  29. กปฺปิต : (วิ.) มีการตกแต่งเกิดแล้ว วิ. กปฺปา กปฺปนา สญฺชาตา ยสฺมึ โส กปฺปิโต. ชาตตฺเถ อิโต. อันแต่งแล้ว. กปฺปฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
  30. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  31. อุปจารสมาธิ : (ปุ.) สมาธิเฉียด, อุปจารสมาธิ คือสมาธิยังไม่แน่วแน่ ยังไม่ดิ่งเป็นอัปปนา เป็นแต่จวน ๆ.
  32. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  33. เอกคฺคตาจิตฺต : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เดียว, ฯลฯ, เอกัคคตาจิต (จิตแนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว จิตเป็นอัปปนา).
  34. โอโรปน : (นปุ.) การปลงลง, การปลง, การนำลง, การโกน, การตัด, การเพาะ, การหว่าน, การปลูก, การปักไว้, การตั้งไว้. โอปุพฺโพ, รุป โอโรปนาทีสุ, ยุ.
  35. อปิจ โย ปน : (อัพ. อุปสรรค) แม้นอนึ่งโสด.
  36. ปนสวิเสส : (ปุ.) ทุเรียน.
  37. โคปน : (นปุ.) การคุ้มครอง, การรักษา, ความคุ้มครอง, ความรักษา. คุปฺ โคปนรกฺขเณสุ, โณ, ยุ.
  38. โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
  39. ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
  40. มนฺตชปฺปน : (นปุ.) การกล่าวมนต์, การร่ายมนต์, มนฺต+ชปฺปน.
  41. มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  42. มิสฺส, มิสฺสก : ค. เจือ, ปน
  43. มิสฺเสติ : ก. เจือ, ปน, ผสม
  44. โวตฺถปน : นป. โวตถัปปน (จิต)
  45. อุกฺเขปน : นป. ดู อุกฺขิปน
  46. อุลฺโลปน : นป. ดู อุลฺลุมฺปน
  47. กญฺญชปฺปน : นป. การกระซิบ
  48. กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
  49. กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
  50. กมฺป กมฺปน : (วิ.) อันยัง...ให้ไหว, ไหว, หวั่น, สั่น, รัว. กมฺปฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-211

(0.0675 sec)