Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปรการ , then ปรการ, ประการ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปรการ, 58 found, display 1-50
  1. ปรการ : ป. การกระทำของผู้อื่น, การสร้างสรรค์โดยผู้อื่น
  2. ปรงฺการ : ป. ดู ปรการ
  3. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  4. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  5. นวารหคุณ : ป. พระพุทธคุณ ๙, พระคุณของพระพุทธเจ้าผู้อรหันต์ ๙ ประการ
  6. ปฏิจฺจสมุปฺปาท : ป., ปฏิจจสมุปบาท, การที่ธรรมทั้งหลายอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน, กฏแห่งธรรมที่ต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ ๑๒ ประการ คือ ๑. เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร ๒. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ๓. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ๔. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ๕. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ๖. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ๗. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ๘. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ๙. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ๑๐. เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ๑๑.- ๑๒. เพราะชาติ จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาส
  7. กฐินตฺถาร : ป. การกรานกฐิน, การขึงไม้สะดึง คือเอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรขึงที่ไม้สะดึงและทำจีวรให้สำเร็จ, การทำจีวรให้สำเร็จด้วยประการนั้นเรียกว่าการกรานกฐิน
  8. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  9. จตุราปสฺเสน : ค. ผู้มีธรรมเป็นที่พักพิงมีสี่ประการ
  10. จตุราริยสจฺจ : (นปุ.) ของจริงอันประเสริฐสี่, ความจริงอันประเสริฐสี่ประการ. จตุ+ อริยสจฺจ รฺ อาคม.
  11. จตุรุสฺสท : ค. หนาแน่นด้วยเหตุสี่ประการ, พรั่งพร้อมด้วยสิ่งประกอบสี่อย่าง คือ ประชาชน, ข้าว,ไม้, และน้ำ
  12. จตุวิธ จตุพิธ จตุพฺพิธ : (วิ.) มีอย่างสี่, มี ประการสี่, จตุรพิธ (สี่อย่าง สี่ประการ)
  13. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  14. ตถา : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, เหมือน กัน, เหมือนอย่างนั้น, มีอุปมัยเหมือน อย่างนั้น, ประการนั้น. รูปฯ ๔0๕ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ วิภัตติ กัจฯ ๓๙๘ ตั้ง วิ. ไว้ทุกวิภัตติ ตามแต่เนื้อความในประโยคนั้น ๆ.
  15. ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
  16. ทฬฺหธมฺม : ค. มีธรรมมั่นคง, ขมัง, เรี่ยวแรง, แข็งขัน, ชำนิชำนาญ (ในศิลปศาสตร์บางประการ), มีความสามารถ
  17. ทุกฺกรกริยา : (อิต.) การกระทำอันบุคคลทำ ได้โดยยาก, การทำกิจที่บุคคลทำได้โดย ยาก, การทำกิจที่ทำได้โดยยาก, การทำ ความเพียรที่ทำได้โดยยาก, ทุกกรกิริยา คือการทรมานร่างกายให้ลำบากโดย ประการต่างๆ.
  18. ทุกฺขิต : (วิ.) ผู้ลำบาก วิ. ทุกฺขตีติ ทุกฺโข. ทุกฺขฺ ทุกฺเข, อิโต. ผู้มีความลำบากเกิดพร้อมแล้ว, ผู้มีความลำบากทุกประการ. วิ. ทุกขํ สํชาตํ เอตสฺสาติ ทุกฺขิโต. ผู้มีความลำบาก วิ. ทุกฺขํ อสฺส อตฺถีติ ทุกฺขิโต. ผู้เป็นไปแล้วโดย ความลำบาก, ผู้เป็นไปด้วยความยาก. วิ. ทุกเขน อิโตติ ทุกฺขิโต. ทุกฺข+อิตศัพท์.
  19. นวรตน : (นปุ.) แก้วเก้าอย่าง, แก้วเก้าชนิด, แก้วเก้าประการ, นพรัตน์, เนาวรัตน์. แก้วเก้าอย่าง คือ เพชร ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย และ ไพฑูรย์. ส. นวรตฺน.
  20. นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
  21. นานปฺปการ นานปฺปการก : (วิ.) มีประการ ต่างๆ, นานัปการ (มีหลายอย่าง มีหลายประการ).
  22. นานาปการ : ค. มีประการต่างๆ , สลับซับซ้อน
  23. นานารูป : (วิ.) มีรูปต่างๆ, มีรูปมีประการ ต่างๆ, มีมากอย่าง, มีต่างๆ อย่าง. วิ. นานปฺปการา รูปา ยสฺส โส นานารูโป.
  24. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  25. ปญฺจกลฺยาณี : อิต. หญิงมีความงามห้าประการ (ผมงาม, ผิวงาม, ฟันงาม, เนื้องาม, วัยงาม)
  26. ปญฺจพนฺธน : นป. การจองจำห้าประการ (คอ ๑, มือ ๒, เท้า ๒)
  27. ปญฺจมหาวิโลกน : นป. การตรวจตราใหญ่ห้าประการ (เวลา, ประเทศ, ทวีป, ตระกูล, มารดา)
  28. ปญฺจานนฺตริย : นป. อนันตริยกรรมห้า, กรรมหนักห้าประการ (ฆ่ามารดา, ฆ่าบิดา, ฆ่าพระอรหันต์, ทำพระโลหิตของพระพุทธเจ้าให้ห้อ, ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน)
  29. ปญฺจาภิญฺญา : อิต. อภิญญาห้า, ความรู้ยิ่งห้าประการ (แสดงฤทธิ์ได้, หูทิพย์, ตาทิพย์, รู้ใจคนอื่น, ระลึกชาติได้)
  30. ปเทสโพธิสตฺต : ป. ผู้เป็นพระโพธิสัตว์เพียงบางส่วน คือประกอบด้วยลักษณะของพระโพธิสัตว์แต่เพียงบางประการ
  31. ปเทสลกฺขณ : นป. ลักษณะที่ปรากฏแต่เพียงบางส่วน, หมายถึงลักษณะของพระโพธิสัตว์ที่มีอยู่แต่เพียงบางประการ
  32. ปภา : (อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, แสงไฟ, ความรุ่งเรือง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. ความรุ่งเรืองโดยประการต่าง ๆ วิ. นานาปกาเรน ภาตีติ ปภา. ความรุ่งเรืองโดยประการ วิ. ปกาเรน ภาติ ทิพฺพตีติ ปภา. กัจฯ ๖๓๙ และอภิฯ รูปฯ ๕๖๙ วิ. ปภาตีติ ปภา. อภิฯ กัจฯ และ รูปฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  33. พฺยาลมฺพ : (วิ.) แขวน, ลอย, มีประการต่างๆ. วิ อา ปุพฺโพ, รุสฺ โรสเน, ยุ.
  34. ยถา : (อัพ. นิบาต) ฉันใด, ประการใด, โดยประการใด, อย่างไร, เป็นอย่างไร, ด้วยประการใด, ควร, สมควร, ตาม, เดิม.
  35. สพฺพถา : (อัพ. นิบาต) ซึ่งประการทั้งปวง, โดยประการทั้งปวง. วิ. สพฺพํ ปการํ สพฺพถา. สพฺเพน วา ปกาเรน สพฺพถา. รูปฯ ๔๐๕
  36. สพฺพธา สพฺพโส : (อัพ. นิบาต.) โดยส่วนทั้งปวง, โดยการจำแนกทั้งปวง, โดยอาการทั้งปวง, โดยประการทั้งปวง, โดยจำแนกโดยอาการทั้งปวง, โดยการจำแนกโดยประการทั้งปวง. สพฺพ+ธา, โสปัจวิภาคตัท.
  37. สมนฺตโต สมนฺตา : (อัพ. นิบาต) รอบ, รอบคอบ, โดย...ทั้งปวง, โดยประการทั้งปวง, โดยรอบ. อภิฯ และรูปฯ ว่าเป็นนิบาตลงในอรรถแห่งสัตมี.
  38. อญฺญตฺต : (นปุ.) ความเป็นอย่างอื่น, ความเป็นประการอื่น.วิ. อญฺญสฺสปการสฺสภาโวอญฺญตฺตํ
  39. อญฺญตฺตา. : (อัพ. นิบาต) ด้วยประการอื่น, โดยประการอื่น.
  40. อญฺญโต : (อัพ. นิบาต) แต่.....อื่น, โดย....อื่นโดยทางอื่น, โดยประการอื่น.
  41. อญญถตฺต : (นปุ.) ความเป็นโดยประการอื่น, ความเป็นอย่างอื่น.
  42. อญฺญถตฺตา : (อัพ. นิบาต) ด้วยประการอื่น, โดยประการอื่น.อญฺญ+ถตฺตาปัจ.
  43. อญฺญถา : (อัพ. นิบาต) ประการอื่น, ด้วยประการอื่น, โดยประการอื่น. ส. อนฺยถา.
  44. อญฺญถาภาว : (ปุ.) ความเป็นโดยประการอื่นความเป็นอย่างอื่น, ความแปรปรวน, ความเปลี่ยนแปลง, ความตรงกันข้าม, ความต่อสู้, วิปลาส.วิ.อญฺเญน ปกาเรนภาโว อญฺญถาภาโว.
  45. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  46. อเนกปฺปการ : ค. อเนกประการ, หลายประการ
  47. อเนกปริยาย : (วิ.) มีปริยายมิใช่หนึ่ง, มีประการมิใช่หนึ่ง, หลายแบบ, หลายขบวน, หลายวิธี.
  48. อเนกปริยาเยน : ก.วิ.โดยประการต่าง ๆ, โดยอเนกปริยาย
  49. อวฺยากต : ค. ซึ่งพระพุทธองค์ไม่ทรงพยากรณ์โดยประการอื่น คือ ไม่ทรงชี้ชัดลงไปว่าดีหรือชั่ว ; ที่เป็นกลางๆ
  50. อิตฺถ : (ปุ.) ประการนี้, อาการนี้.
  51. [1-50] | 51-58

(0.0228 sec)