กุสุม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของผู้หญิง, ประจำ เดือนของหญิง, ประจำเดือน (ระดูของ หญิง), ระดูของหญิง. อภิฯ เป็น นปุ กุสฺ อวฺหาเณ, อุโม.
นารีปุปฺผ : (นปุ.) ดอกไม่ของหญิง, ระดูของ หญิง, ประจำเดือน (โรคประจำเดือนของ หญิง เลือดที่ออกจากมดลูกเป็นประจำ เดือน).
รช : (ปุ.) ระดูของหญิง, ประจำเดือนของหญิง, ระดู, ประจำเดือน. วิ. รติยา ชายตีติ รโช รติปุพฺโพ, ชนฺ, ปาตุภาเว, โร. ลบ ติ และ นฺ.
กุสม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของหญิง, ระดูของ หญิง. กุสฺ อวหาเณ, อโม.
ถิรช ถีรช : (ปุ. นปุ.) เกสรของหญิง,ประจำเดือนของหญิง,โรคประจำเดือนของหญิง,ระดูของหญิง.
ธุวโลหิตา : อิต. หญิงมีโลหิตประจำ, หญิงมีประจำเดือน, หญิงมีระดู
อิตฺถีปุปฺผ : (นปุ.) ดอกไม้ของหญิง คือโรค ประจำเดือนของหญิง ระดูของหญิง.
อุตุกาล : ป. กาลมีระดู, เวลามีประจำเดือน
กตฺติก กตฺติกมาส : (ปุ.) เดือนอันประกอบ ด้วยดาวฤกษ์ชื่อกัตติกา, เดือนกัตติกา, เดือน ๑๒, เดือนพฤศจิกายน.
จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
เจตฺรมาส : (ปุ.) เดือนจิตระ, เดือนจิตรมาส, เดือน ๕, เดือนเมษายน, เมษายน.
นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
ปุพฺพกตฺติก : (ปุ.) ปุพพกัตติกะ ชื่อเดือนที่ ๑๑ ทางจันทรคติ, เดือน ๑๑. วิ. จึอสฺสยุชมาโส ปุพฺพกตฺติโก, ปุพฺโพ จ โสกตฺติโก เจติ ปุพฺพกตฺติโก
โปฏฺฐปทมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยวันเพ็ญรวมนักษัตรโปฏฐปทา, เดือน ๑๐, กันยายน, เดือนกันยายน.
ผคฺคุนมาส : (ปุ.) เดือนอันมีพระจันทร์เสวยนักษัตรผคฺคุนี, เดือนประกอบ ด้วยผัคคุนฤกษ์, เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม. เป็น ผคฺคุณมาส บ้าง.
มาฆ : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยดาวฤกษ์ชื่อมฆา, เดือนมาฆะ, เดือน ๓, ภุมภาพันธ์, เดือนกุมภาพันธ์. วิ. มฆาย ปุณฺณจนฺทยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส มาโฆ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
สลก สสงฺก : (ปุ.) พระจันทร์, เดือน, ดวงเดือน. วิ สโส อํโก ยสฺส โส สสํโก สสงฺโก วา.
สสธร : (ปุ.) พระจันทร์, เดือน, ดวงเดือน.
จิตฺต : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยฤกษ์จิตตา, เดือน จิตตะ, เดือนห้า. วิ. จิตฺตาย ยุตฺโต มาโส จิตฺโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
จิตฺตมาส จิตฺรมาส : (ปุ.) เดือนจิตตมาส, เดือน เดือนจิตรมาส, เดือนห้า, เดือนเมษายน, เมษายน.
กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
กิณ : (นปุ.) การซื้อ. กี ธาตุ ณา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์ รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๖๓๐.
กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
ฆณ ฆน : (นปุ.) ฆณะ ฆนะ ชื่อองค์ที่ ๔ ใน ๕ องค์ของดุริยางค์, สัมมดาฬ เป็นต้น ชื่อ ฆณะ ฆนะ. หนฺ หึสายํ. อ, หสฺส โฆ. อภิ ฯ ลง ณ ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ. สัมมดาฬ คือ ดาฬที่ทำด้วยไม้ สมฺมตาฬํ นาม กฏฺฐมยตาฬํ. กังสดาล ( ระฆังวง- เดือน ) คือ ดาฬที่ทำด้วยโลหะ กํสตาฬํ นาม โลหมยํ. สิลาตาฬะ คือดาฬที่ทำด้วย สิลาและแผ่นเหล็ก สิลาย จ อโยปฏฺเฏน จ วาทนตาฬํ สิลาตาฬํ. ฏีกาอภิฯ
จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
ติตฺถิยปริวาส : (ปุ.) ติตฺถิยปริวาส ชื่อของ กรรมวิธีตรวจสอบเดียรถีย์ ผู้ที่จะมาบวช ในพุทธศาสนาว่าจะมีความเลื่อมใสแท้จริง หรือไม่ มีกำหนด ๔ เดือน ดูรายละเอียด ใน โตร. ๔ ข้อ ๑๐๐ วิธีนี้ควรจะเอามา ประยุกต์ใช้กับคนที่จะมาบวชในปัจจุบัน นี้บ้าง.
โทสากร : (ปุ.) ดวงจันทร์, พระจันทร์, เดือน.
นกฺขตฺตราช : (ปุ.) นักขัดตราช ชื่อของ พระจันทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๔ ชื่อ, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน.
นิพทฺธ นิวทฺธ : (วิ.) เนื่องมีระหว่างออกแล้ว, เนื่องมีระหว่างคั่นไม่มี, เนื่องไม่มีระหว่าง คั่น, เนื่องกัน, ติดต่อกัน, เนืองๆ, เนือง นิตย์, เสมอ, ประจำ.
ปปุนฺนาฏ : (ปุ.) ชุมเห็ด ชื่อต้นไม้รักษาหิด วิ. ปกาเรน ททฺทุ ปุนาตีติ ปปุนฺนาโฏ. ปการปุพฺโพ, ปุ ปวเน, อโฏ, นิคฺคหิตา คโม, การโลโป. ลง นา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุและ อฏ ปัจ.
ปมชฺชน : (นปุ.) ความมัวเมา, ความประมาท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท. ย ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
ปริปนฺถ : (ปุ.) อันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน รอบ, อันตรายในทางเปลี่ยว, ทางเปลี่ยว, หนทางเปลี่ยว, อันตราย อุ. โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ. ปริปุพฺโพ, ปถิ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
ปุริมวสฺส : (ปุ. นปุ.) พรรษต้น, วันเข้าพรรษาต้น. การอธิษฐานเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ปุริมพรรษา บุริมพรรษา. ถ้าหากมีความจำเป็นเข้าไม่ทันมีพระบรมพุทธานุญาตให้อธิษฐานเข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ เรียกปัจฉิมพรรษา.
โปฏฺฐปท โปฏฺฐปาท : (ปุ.) เดือน ๑๐, กันยายน. วิ. โปฏฺฐปทาย ปริปุณฺณนฺ-ทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส โปฏฺฐปโท โปฏฺฐปาโท วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
ผคฺคุน : (ปุ.) เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม, อภิฯ วิ. ผคฺคุนิยา ปริปุณฺเณนฺทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโสผคฺคุโน. บท ปริปุณฺเณฯ ตัดบทเป็น ปริปุณฺณ+อินทฺ+ยุตฺต. รูปฯ ๓๖๒ วิ. ผคฺคุนิยา ยุตฺโต มาโส ผคฺคโน. เป็น ผคฺคุณ เพราะแปลง น เป็น ณ บ้าง.
พุทฺธวสฺส : (ปุ. นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
ภทฺทปท ภทฺทปทมาส : (ปุ.) เดือน ๑๐, กันยายน, เดือนกันยายน.
มาคสิร : (ปุ.) เดือน ๑, เดือนอ้าย. วิ. มคสิเรน ปุณฺณจนฺทยุตฺตาย นกฺขตฺเตน ยุตฺโตมาโส มาคสิโร, ธันวาคม, เดือนธันวาคม.
มาคสิรมาส : (ปุ.) เดือน ๑, เดือนอ้าย, ธันวาคม, เดือนธันวาคม.
มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑. เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
มาฆมาส : (ปุ.) เดือน ๓, ฯลฯ, เดือนกุมภาพันธ์.
มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
มิคสิร มิคสิรมาส : (ปุ.) เดือน ๑, เดือนอ้าย, เดือนธันวาคม, ธันวาคม.
รชนีกร รชฺชนีกร : (ปุ.) พระจันทร์, เดือน.
อกาลจีวร : (นปุ.) ผ้าอันเกิดขี้นในสมัยมิใช่กาล, ผ้าที่ทายกทายิกาถวายนอกเขตฤดูกาล (ที่ทรงอนุญาต) คือผ้าที่เกิดขึ้นนอกเขตกาลจีวร, อกาลจีวร.อกาลจีวรมีกำหนดดังนี้ถ้าภิกษุไม่ได้กรานกฐินมีกำหนด ๑๑ เดือน ตั้งแต่ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.