อวาคต : ค. เคลื่อน, เลื่อน, ตก
นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
ฆคฺฆร : (ปุ.?) ซอกเขา, นกแสก, ประตู แม่น้ำ, เสียงสำรวล (หัวเราะ) ฆํสฺ ฆสนอทเนสุ, โร. ลง อ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ส เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ฆ แปลง นิคคหิต เป็น ค.
กวาฏ : (ปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
กวาฏก : (นปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
อปาปุรติ, อปาปุณติ : ก. เปิด (ประตู)
อปารุต : ค. เปิด (ประตู) , ซึ่งถูกเปิดแล้ว
อน : (นปุ.) เกวียน, เลื่อน.อนุปาณเน, อ. อถวา, นตฺถินาสายสฺสาติอนํ.น+นาสาลบสารัสสะอาที่นาเป็นอแปลงนอุปสรรคเป็นอ.
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
กปาฏ : (นปุ.) บานประตู. กปฺ อจฺฉาทเน, อาโฏ. ส. กปาฏ กพาฏ.
กปิสีส : (ปุ.) ลิ่มไม้, ดาฬประตู. กปิรูปมตฺถ- กตฺตา กปิสีโส.
กวาฏ, กวาฏก : ป., นป. หน้าต่าง, บานประตูหน้าต่าง
กวาฏปิฏฐ : นป. บานประตู
กวาฏพนฺธ : ป. เครื่องผูกประตู
กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
กุลทฺวาร : นป. ประตูแห่งสกุล
โกฏฺฐฏ : (ปุ.) ซุ้ม, ซุ้มประตู.
ขตฺตุ : (ปุ.) คนผู้ขุด, นายสารถี, นายประตู, คนเฝ้าประตู.
คงฺคาทฺวาร : (ปุ. นปุ.) ประตูน้ำ, ปากน้ำ.
คพฺภทฺวาร : นป. ประตูห้อง
คลติ : ก. หยาด, หยด, ฝนตก, ไหล, เลื่อนไป, พลัด, หล่น, กลืนกิน
คามทฺวาร : นป. ประตูใหญ่, ประตูบ้าน, ประตูเข้าบ้าน
เคหทฺวาร : นป. ประตูบ้าน, ประตูเรือน
โคปุร : (นปุ.) ประตูเมือง, ซุ้มประตู, ซุ้มประตู เมือง. วิ. คุณฺณํ วาจานํ ปุรํ โคปุรํ.
ฆรทฺวาร : นป. ประตูเรือน
ฆรมุข : (นปุ.) ประตูของบ้าน, ประตูบ้าน, หน้ามุข.
จตุทฺวาร : ค. มีทวารสี่, มีสี่ประตู
จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
จาเวติ : ก. ทำให้เลื่อน, ทำให้พ้น, ทำให้หลุดไป, พราก, ไล่
จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
ฉทฺวาร : นป. ทวารหก, หกประตู, หกช่อง
ชมฺพาลี ชมฺพาฬี : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของ ไม่สะอาด, บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำครำ, ชมุ อทเน, อโล. ลง พ อักษรสุดธาตุ.
ฐาปน : (นปุ.) การแต่งตั้ง, สถาปนา ( การยกย่องโดยแต่งตั้งให้สูงขึ้นเลื่อนให้สูง ขึ้น ). ส. สฺถาปน.
ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
ทฺวาร : (นปุ.) ประตู, ปาก, ช่อง, อุบาย, ทาง. ทฺวรฺ สํวรเณ, โณ, อภิธัมมวิภาวินีปท โยชนาเป็น ทฺวารฺ ธาตุ อ. ปัจ. เป็น ทฺวารา
ทฺวารกวาฏ : นป. บานประตู, ประตูและหน้าต่าง
ทฺวารโกฏฺฐก : (ปุ.) ซุ้มประตู.
ทฺวารคาม : ป. หมู่บ้านใกล้ประตูเมือง, หมู่บ้านนอกประตูเมือง
ทฺวารฏฺฐ : ค., ป. ผู้ยืนอยู่ที่ประตู; ผู้เฝ้าประตู, คนรักษาประตู
ทฺวารโตรณ : นป. เสาระเนียดประตู
ทฺวารปาล : ป. คนเฝ้าประตู, ยามรักษาประตู
ทฺวารปาล ทฺวารปาลก ทฺวารฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้รักษาประตู, คนเฝ้าประตู, ยามประตู, นายประตู. ศัพท์หลัง ทฺวาร+ฐ ซ้อน ฏฺ.
ทฺวารปิทหน : นป. การเปิดประตู
ทฺวารพาหา : (อิต.) บานประตู. ทฺวาร+ พาหา.
ทฺวารภตฺต : นป. ภัตที่ประตูเรือน, ภัตซึ่งตั้งไว้ที่ประตูเรือนเพื่อบริจาคทาน
ทฺวารวาตปาน : นป. ประตูและหน้าต่าง
ทฺวารสาลา : อิต. ศาลามีประตู
เทหนี : (อิต.) ธรณีประตู วิ. เทหํ เนติ ปเวเสนาติ เทหนี. เทหปุพฺโพ, นี ปาปุณเน, กฺวิ.
เทหนี, - หลี : อิต. ธรณีประตู