Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ประถมศึกษา, ศึกษา, ประถม , then ประถม, ประถมศึกษา, ศกษา, ศึกษา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ประถมศึกษา, 60 found, display 1-50
  1. อนุปาล : (ปุ.) การตามเลี้ยง, การตามรักษา, การตามระวัง, การคอยรักษา, การคอยระวัง.เรียกโรงเรียนที่รับเด็กก่อนเข้าเกณฑ์ประถมศึกษาว่าโรงเรียนอนุบาล เรียกเด็กที่เรียนว่าเด็กอนุบาล (เด็กที่ครูต้องคอยระวัง).
  2. เสวน : (วิ.) เสพ, คบหา, รับใช้, ปฏิบัติ, ศึกษา, เล่าเรียน.
  3. อิต : (วิ.) ประกอบ, เล่าเรียน, ร่ำเรียน, อ่าน, ท่อง, ศึกษา. อิ อชฺฌายเน, โต.
  4. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  5. คหณ : นป. การยึด, การถือ, การศึกษา, การเล่าเรียน
  6. : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
  7. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  8. ตุฏฺฐปณฺฑิต : (ปุ.) ดุษฏีบัณฑิต เป็นคำเรียก ผู้ที่สอบได้ปริญญาเอกของสถานที่ศึกษา ชั้นอุดมศึกษา. ส. ตุษฺฏิปณฺฑิต.
  9. ธมฺมปริยตฺติ : อิต. ธรรมปริยัติ, การเรียนธรรม, การศึกษาธรรม
  10. ธมฺมสมาทาน : นป. ธรรมสมาทาน, การสมาทานธรรม, การศึกษาเล่าเรียนธรรม
  11. นวกภูมิ : (อิต.) ชั้นต้น, ลำดับ, ฐานะต้น, ฯลฯ, นวกภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคน ชั้นต้น ในพุทธศาสนา หมายถึง นักธรรม ชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นตรี พระชั้นต้น คือ ตั้งแต่อุปสมบทถึงพรรษาครบ ๕ ใน พจนาฯ นับตั้งแต่อุปสมบทถึงครบพรรษา ๔.
  12. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  13. ปริญฺญาปตฺต : (นปุ.) แผ่นแสดงความรอบรู้, ปริญญาบัตร คือ บัตรที่แสดงวิทยฐานะ ของผู้สำเร็จการศึกษา มีศักดิ์และสิทธิ์ ระดับปริญญา.
  14. ปาฐสาลา : อิต. สถานที่ศึกษา, โรงเรียน
  15. พหุสจฺจ : นป. ความเป็นผู้มีการศึกษามาก, ความเป็นผู้คงแก่เรียน
  16. มนฺตชฺฌาย : (วิ.) ผู้ศึกษามนต์, ผู้ท่องมนต์. มนฺต+อชฺฌาย.
  17. มหาวิชฺชาลย มหาวิทฺยาลย : (ปุ.) สถานที่สำหรับเข้าไปศึกษาความรู้ชั้นสูง, มหาวิทยาลัย ชื่อสถานศึกษาความรู้ชั้นอุดม.
  18. มุข : (วิ.) เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นประมุข, เป็นหัวหน้า, เป็นประถม, ฉลาด, ชำนาญ.
  19. สกฺขก : (ปุ.) คนผู้ศึกษา, คนผู้เล่าเรียน.
  20. สาราณิยกร : (ปุ.) สาราณิยกร ชื่อบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษา มีหน้าที่อย่างบรรณธิการ.
  21. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  22. สิกฺขก : (วิ.) ผู้ศึกษา, ผู้เล่าเรียน. สิกฺข วิชฺโชปาทาเน, ณวุ.
  23. สิกฺขติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน
  24. สิกฺขน : (นปุ.) การศึกษา, การเล่าเรียน, ยุ ปัจ.
  25. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  26. สิกฺขากาม : กิต. ผู้ใคร่ต่อการศึกษา
  27. สิกฺขาปก, สิกฺขาปนก : ค. ผู้ให้การศึกษา, ครู
  28. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  29. สิกฺขาสาชีว : (ปุ.) การศึกษารและการครองชีพ.
  30. สิกฺขิต : กิต. ศึกษาแล้ว
  31. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  32. เสกฺข เสข : (ปุ.) บุคคลผู้ยังต้องศึกษา, บุคคลที่ยังต้องศึกษา, เสกขบุคคล, เสขบุคคล, พระเสขะ คือ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น. สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, โณ. ศัพท์หลังลบ กฺ. อภิฯ วิ. ตีหิ สิกฺขาหิ ยุตฺตตฺตา เสกฺโข เสโข วา.
  33. เสข, (เสกฺข) : ป. ผู้ยังต้องศึกษา
  34. เสขิย : (วิ.) อัน...พึงศึกษา, อัน...ควรศึกษา, อัน...ควรใส่ใจ, อัน...พึงใส่ใจ. สิกฺขฺ วิชฺโช ปาทาเน, โณฺย. วิการ อิ เป็น เอ ลบ กฺ และ ณฺ อิ อาคม.
  35. เสขียวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติอัน...พึงศึกษา, ฯลฯ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุต้องใส่ใจ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุต้องเอาใจใส่, วัตรที่ภิกษุต้องใส่ใจ, ฯลฯ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุและสามเณาต้องใส่ใจ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุและสามเณรต้องเอาใจใส่, วัตรที่ภิกษุและสามเณรต้องใส่ใจ, ฯลฯ.
  36. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  37. อชฺฌยน : นป. การสาธยาย, การศึกษา, เล่าเรียน
  38. อชฺฌยนอชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด.อธิ+อิ+ยุ ปัจ.แปลงอธิเป็น อชฺฌอิเป็น เอ เอเป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  39. อชฺฌยน อชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด. อธิ+อิ+ยุ ปัจ. แปลง อธิ เป็น อชฺฌ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  40. อชฺฌายก : (ปุ.) คนผู้ศึกษา, นักเรียน, นักศึกษา.อธิปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ สิกฺขเณวา, ณฺวุ.
  41. อชฺฌายติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน
  42. อธิจิตฺตสิกฺขา : (อิต.) ปฏิทาอัน..พึงศึกษา คือจิตยิ่ง, ข้อที่ควรศึกษาคือจิตยิ่ง, อธิกจิตตสิกขาชื่อหลักการศึกษาทางพุทธศาสนา หลักที่ ๒ใน ๓ หลัก.
  43. อธิยฺยติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน, สาธยาย
  44. อธิยีต : กิต. ศึกษาแล้ว, เล่าเรียนแล้ว
  45. อธียติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน, สาธยาย
  46. อนุสิกฺขติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน, เจริญรอยตาม
  47. อนุสิกฺขี : ค. ผู้เรียน, ผู้ศึกษา
  48. อสฺสุตวนฺตุ : (วิ.) ผู้ไม่ฟัง, ผู้ไร้การศึกษา.
  49. อเสขอเสกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา, บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษาเพื่อคุณอันยิ่งขึ้นไปอีก(เพราะจบการศึกษาแล้วคือละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว), บุคคลผู้สำเร็จการศึกษา (ในเรื่องละกิเลสเพราะละกิเลสได้เด็ดขาดแล้ว), พระอเสขะคือ พระอริยบุคคลผู้บรลุพระอรหันตผลแล้ว, อเสขะอเสกขะชื่อของพระอรหันต์, พระอรหันต์.วิ.ตโตอุตฺตริกรณียาภาวโตนตฺถิสิกฺขาเอตสฺสาติอเสโขอเสกฺโขวา.
  50. อเสข, อเสกฺข : ๑. พระอเสขะ, พระอรหันต์, ผู้ไม่ต้องศึกษาอีก ; ๒. ค. ผู้ที่ไม่ต้องศึกษาอีก
  51. [1-50] | 51-60

(0.0552 sec)