Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ประธาน , then ปรธาน, ประธาน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ประธาน, 36 found, display 1-36
  1. ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
  2. กตฺตุการก : (ปุ.) กัตตุการก ชื่อตัวประธาน ของกัตตุวาจก.
  3. กตฺตุวาจก : (ปุ.) กัตตุวาจก, กรรตุวาจก ชื่อ วาจกที่กล่าวประธานเป็นผู้ทำ.
  4. กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
  5. ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
  6. ฉนฺทสามาธิปธานสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง อันเป็นประธานคือความตั้งมั่นแห่งความพอใจ.
  7. ชนปาโมกฺข : ค. ผู้เป็นประธานหรือหัวหน้าของกลุ่มชน
  8. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  9. ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  10. ตทา ตทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนั้น,ครั้งนั้น, คราวนั้น, เมื่อนั้น. วิ. ตสฺมึ กาเล ตทา ตทานิ วา. ต ศัพท์ ทา, ทานิ ปัจ. ตทา ใช้เป็นประธานบ้าง แปลว่า อ. กาลนั้น.
  11. ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
  12. ทิสาปาโมกข : (ปุ.) อาจารย์ผู้เป็นหัวหน้าใน ทิศท., อาจารย์ผู้เป็นประธานในทิศ ท., ทิศาปาโมกข์ (อาจารย์ผู้มีเสียงโด่งดัง).
  13. นาย นายก : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น หัวหน้า, เป็นประธาน, ผู้นำ, ผู้นำไป. วิ. เนตีติ นายโก. นิ นี วา นเย, ณฺวุ. ศัพท์ต้น ณ ปัจ.
  14. ปถม : (วิ.) ก่อน, แรก, เบื้องต้น, ครั้งแรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, ต้น, เบื้องต้น, เป็นประธาน. ดู ปฐม ด้วย.
  15. ปธาน : (วิ.) เลิศ, ใหญ่, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, สูงสุด, อุดม.
  16. ปธานภาว : (ปุ.) ความที่แห่ง...เป็นประธาน, ความเป็นแห่งประธาน.
  17. ปภู : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นประธาน. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, อู, กฺวิ วา. ฎีกาอภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น ปภุ.
  18. ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
  19. ปาโมกฺขาจริย : ป. อาจารย์ผู้เป็นหัวหน้า, อาจารย์ผู้เป็นใหญ่, อาจารย์ผู้เป็นประธาน
  20. ปาวจน : นป. ปาพจน์; คำอันเป็นประธาน หมายถึงพระธรรมและพระวินัย
  21. ปุพฺพงฺคม : (วิ.) ถึงก่อน, มีปกติถึงก่อน,เป็นสภาพถึงก่อน, เป็นประธาน. วิ. ปุพฺพํ ปุพฺเพ วา คจฺฉตีติ ปุพฺพงฺคโม.
  22. ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
  23. พุทฺธปมุข : (วิ.) มีพระพุทธเจ้าเป็นหัวหน้าโดยความเป็นประธาน, มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข.
  24. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  25. มุข : (วิ.) เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นประมุข, เป็นหัวหน้า, เป็นประถม, ฉลาด, ชำนาญ.
  26. มุขฺยา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นประธาน, ความเป็นหัวหน้า, ความเป็นประธาน. ณฺย ปัจ.
  27. โมกฺข : (วิ.) เป็นหัวหน้า, เป็นประธาน, ประเสริฐ, สูงสุด. วิ. หีนมชฺฌิมภาเวหิ มุจฺจตีติ โมกฺโข (พ้นจากภาวะเลวและภาวะปานกลาง). มุจฺ โมจเน, โต ตสฺส โข, จสฺส โก จ.
  28. สมสีส : (นปุ.) สมธรรมและศีลธรรม, ธรรมสงบและธรรมเป็นประธาน. ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๑๕.
  29. สย : (อัพ. นิบาต) เอง, ด้วยตนเอง, โดยตนเอง, อันตนเอง. ใช้เป็นประธานก็มี แปลว่า อ. ตนเอง ที่เป็นราชาศัพท์ แปลว่า อ. พระองค์ หรือ อ. พระองค์เอง.
  30. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  31. อตฺถิ : (อัพ. นิบาต) มี, มีอยู่. ใช้เป็นประธานบ้าง.อตฺถิที่เป็นกิริยาอาขยาต เป็นอสฺ ธาตุออัจ. ติวิภัติ แปลง ติ เป็น ตฺถิลบ ที่สุดธาตุเป็นได้ทั้งสองวจนะ.
  32. อล : (อัพ. นิบาต) ไม่, อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร, บมิควร, ช่างเถอะ, แท้จริง, พอ, พอละ, ประดับ, อาจ, สามารถ, ควร, สมควร.อลํเมพุทฺโธ.พระพุทธเจ้าควรแก่เรา.อลํที่ใช้เป็นประธานแปลว่าอ.อย่าเลยอ.พอละอ.ช่างเถิดอ.ไม่ควรสัมพันธ์ว่าปฏิเสธลิง-คัตถะ.อลํเตอิธวาเสน.อ.อย่าเลยด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน.
  33. อิทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, ในคราวนี้, คราวนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้. อิม ศัพท์ ทานิ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ ใช้เป็นประธานบ้าง อุ. ภนฺเต อิทานิ ฯลฯ. ขุ.ธ.
  34. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  35. เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.
  36. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  37. [1-36]

(0.0194 sec)