ปมิณาติ : ก. นับ, ประมาณ, กะ, กำหนด
มาณ : (นปุ.) ทะนาน, การนับ, ประมาณ, มา ปริมาเณ, ยุ.
ยาว : (อัพ. นิบาต) เพียงใด, เพียงไร, ตราบใด, ตราบเท่า, กระทั่ง, ประมาณ, กำหนด, ตลอด.
ตคฺฆ : (วิ.) เลี้ยงดู, รักษา, ประมาณ ? ตคฺฆฺ ปาลเน, อ.
คาวุติก : ค. ประมาณ ๑ คาวุต, แค่ ๑ คาวุต
จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
เฉทนกปาจิตฺติยา : (อิต.) เฉทนกปาจิตตีย์ ชื่ออาบัติปาจิตตีย์ ที่ต้องให้ตัดของที่ทำ เกินกำหนด (ประมาณ) ออกเสียก่อนจึง แสดงอาบัติตก คือจึงจะพ้นจากอาบัติ.
ปล : นป. ชื่อมาตราน้ำหนัก ประมาณ ๔ ออนส์
อณุมตฺต : ค. ประมาณ ๑ อณู, ละเอียด
กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
กฏตฺตากมฺม : (นปุ.) กรรมอันตนทำแล้วพอ ประมาณ, กรรมอันตนทำแล้วในอดีตชาติ, กรรมสักว่าทำ.
กหาปณ : (ปุ. นปุ.) กหาปณะ ชื่อมาตราเงิน ๒๐ มาสก เป็น ๑ กหาปณะ เป็นเงิน ไทยประมาณ ๔ บาท หรือ ๑ ตำลึง. วิ. กรีสปฺปมาเณน รูเปน กโต ปโณ ปณิโย ทพฺพเภโท กหาปโณ. แปลง รีส เป็น ห แล้วทีฆะ อภิฯ และเวสฯ ๕๖๗.
กิตฺตก : (วิ.) มีประมาณเท่าไร วิ. กึ ปมาณ มสฺสาติ กิตฺตกํ. ตฺตก ปัจ. ลงในปริมาณ รูปฯ ๓๖๙ โมคฯ ณาที่กัณฑ์ ลง ริตฺตก ปัจ. ลบ ร.
กิตฺตาวตา : (อัพ. นิบาต) ด้วยเหตุมีประมาณ เท่าไร, มีประมาณเท่าไร. ลงในอรรถ ปริจเฉท และ ปุจฉนะ.
กีว : อ. เท่าไร? มากเท่าไร? มีประมาณเท่าไร?
กุมฺภภารมตฺต : ค. ซึ่งจุประมาณหนึ่งหม้อ; มีปริมาตรหนึ่งหม้อ
กูฏาคารกุจฺฉิปฺปมาณ : (วิ.) มีท้องแห่งเรือนยอด เป็นประมาณ.
คลปฺปมาณ : ค. ประมาณคอ, เพียงคอ, แค่คอ
โฆสปฺปมาณ, - ณิก : ค. ผู้ถือเสียงเป็นประมาณ, ผู้หนักในเสียง, ผู้ติดในเสียง
โฆสปฺปมาณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยประมาณ ในเสียง (เกิดความเลื่อมใสด้วยฟังเสียง ไพเราะ), ผู้ถือประมาณในเสียง. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
จตุจตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้ง แห่งทรัพย์มีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ, ที่ เป็นที่ตั้งแห่งทรัพย์ มีโกฏิสี่สิบสี่, ที่เป็น ที่ตั้งแห่งทรัพย์สี่สิบสี่โกฏิ.
จตุจตฺตาฬีสโกฏิวิภว : (วิ.) ผู้มีโภคะอันบุคคล พึงเสวยมีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
จตุปญฺจนาฬิมตฺต : (วิ.) มีทะนานสี่และ ทะนานห้าเป็นประมาณ เป็น ฉ.ตุล. มี อ. ทิคุ,อ.ทิคุ. และ อ.ทวัน. เป็นท้อง.
จตุรงฺคุล, - ลิก : ค. มีประมาณสี่นิ้ว
ฉตฺตึสโยชนปริมณฺฑล : (วิ.) มีปริมณฑลมี โยชน์สามสิบหกเป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล เป็นท้อง.
ชณฺณุตคฺฆ : (วิ.) มีเข่าเป็นประมาณ ชณฺณุ + ตคฺฆ.
ชณฺณุมตฺต, ชณฺณุคคฺฆ : ค. ลึกแค่เข่า, ลึกประมาณเข่า
ชาณุปฺปมาณ ชานุปฺปมาน : (วิ.) มีเข่าเป็น. ประมาณ, ประมาณเข่า.
ชาณุมตฺต : ค. ประมาณเข่า
ชานุปฺปมาณอุรุปฺปมาณกฏิปฺปมาณาทิ : (วิ.) มีน้ำมีเข่าเป็นประมาณและมีน้ำมีขาอ่อน เป็นประมาณ และมีน้ำมีสะเอว เป็นประ มาณเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตุล, ฉ. ตุล., ฉ.ตุล. และ ส.ทวัน. เป็นท้อง.
ตตฺตก : (วิ.) มีประมาณนั้น, มีประมาณเพียง นั้น. วิ. ตํ ปริมาณมสฺสาติ ตตฺตกํ ตฺตก ปัจ. รูปฯ ๓๖๙.
ตรุณตาลขนฺธปฺปมาณ : (วิ.) มีลำต้นแห่ง ตาลหนุ่มเป็นประมาณ.
ตาวก : (วิ.) มีประมาณเพียงนั้น, ฯลฯ. ตาว+ ก ปัจ. สังชยาตัท.
ตาวกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลมีประมาณ เพียงนั้น, ตั้งอยู่ชั่วขณะขอยืม, ชั่วเวลา ขอยืม.
ตาวตก : (วิ.) มีประมาณเพียงนั้น, ฯลฯ. วิ. ตํ อิว ปริมาณ มสฺส ตาวตกํ ต+อาวตก ปัจ. รูปฯ ๖๓๙ วิ. ตํ ปริมาณ มสฺสาติ ตาวตกํ.
ตาวตา : (อัพ. นิบาต) มีประมาณเพียงนั้น, มีประมาณเท่านั้น.
ตาวนฺตุ : (วิ.) มีประมาณเท่านั้น, มีประมาณ เพียงนั้น. ต+อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ เป็น ต+วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา. โมคฯ เป็นตาวนฺต.
ติก : (วิ.) สาม. ติ ศัพท์ ก สกัด มีประมาณสาม ติ+ ก ปัจ.
ติคาวุต : ค. ประมาณสามคาวุต
ติตาลมตฺต : ค. สูงประมาณสามลำตาล
เตลนาฬิ : (อิต.) ทะนานแห่งน้ำมัน, น้ำมันมี ทะนานเป็นปริมาณ, น้ำมันมีทะนานหนึ่ง เป็นประมาณ.
ทฺวาโยชนิก : ค. ประมาณสองโยชน์
ทฺวิตาลมตฺต : ค. ประมาณสองส่วน, สูงสองชั่วลำตาล
ทฺวิมาสิก : ค. ประมาณสองเดือน, เป็นเวลาสองเดือน
ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
ทิยฑฺฒสหสฺสนาฏกิตฺถีปริวาร : (วิ.) มีหญิง ฟ้อนมีพันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตัป. มี วิเสสนบุพ. กัม., วิเสสนบุพ. กัม., ฉ. ตุล., และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน.
ทิยฑฺฒสหสฺสปริจาริกา : (อิต.) นางบำเรอมี พันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณ, นางบำเรอหนึ่งพันห้าร้อยนาง.
ทุก : (วิ.) มีปริมาณสอง, มีประมาณสอง. วิ. เทฺว ปริมาณานิ อสฺสาติ ทุกํ.
ทุมตฺต : ค. มีประมาณสอง, ประมาณสอง
ทุวงฺคุล : ค. มีประมาณสองนิ้ว