ชาติ : (อิต.) มะลิ, ดอกมะลิ.
ชาติ (ตฺ) ถทฺธ : ค. ผู้กระด้างหรือเย่อหยิ่งเพราะชาติ
ชาตี : (อิต.) ชาตบุษย์ , มะลุลี, มะลิซ้อน.
ชาติสุวรณฺณ : (นปุ.) ทองเกิดโดยกำเนิด, ทอง แต่กำเนิด, ทองธรรมชาติ, ทองคำธรรม ชาติ.
ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
ชาติมาลา : (อิต.) แผนแห่งชาติ, สาขาแห่ง ชาติ, แผนแห่งเครือญาติ, โครงแห่ง ตระกูล.
ชาติวาท : ป. การสนทนาถึงเรื่องชาติ, การถกกันด้วยเรื่องเทือกเถาเหล่ากอ
ชาติโกส : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ. วิ. โกสสหิตํ ชายติ ผล เมตสฺสาติ ชาติโกสํ.
ชาตินิโรธ : ป. ความดับสูญแห่งการเกิด
ชาติผล : (นปุ.) ลูกจันทร์, ลูกจันทร์เทศ, ผลจันทร์.
ชาติวีณา : อิต. พิณที่มีมาแต่เกิด, พิณคู่มือ, พิณประจำสกุล
ชาติเวท : ป. เปลวไฟ
ชาติสุมนา : (อิต.) ชาตบุษย์ ชื่อบัว, มะลุลี ชื่อต้นไม้ในวรรณคดี, ดอกบัว, มะลิ, มะลิซ้อน.
ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
ทูรกนฺตน : นป. การกำจัดให้ไปในที่ไกล, การถูกขับไล่ให้ได้รับความอดสู, การทรยศต่อประเทศชาติ
ธญฺญชาติ : (อิต.) ข้าวเปลือก. ชาติ สกัด.
มหาปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้ใหญ่, บุรุษผู้ประเสริฐ, มหาบุรุษ คือท่านผู้ทำประโยชน์ ให้แก่ประเทศชาติหรือโลก (ชาวโลก) มาก หรือท่านผู้สร้างสมบารมีไว้มาก เรียกเจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อเสด็จออกผนวชแสวงหาโมกขธรรมว่า พระมหาบุรุษ.
มหาราช : (ปุ.) พระราชาที่มหาชนเคารพ, พระราชาผู้ใหญ่, มหาราช. พระมหาราช. พระราชาที่ทรงทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติเหนือกว่าพระราชาองค์อื่นๆ. พสกนิกรจะถวายพระนามว่า มหาราช เช่น สมเด็จพระนเรศวร พระเจ้าตากสิน เป็นต้น. เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศ. ศัพท์นี้ที่ใช้เป็น อาลปนะ สำหรับพระพูดกับพระเจ้าแผ่นดิน แปลว่า ขอถวายพระพร.
อภิสิทฺธิ : (อิต.) ความเจริญยิ่ง, ความสำเร็จยิ่ง, ความสำเร็จ, ไทยใช้อภิสิทธิ์.ในความหมายว่าทำอะไรได้เหนือคนอื่นเหนือกฏ-หมายถ้ามีคนใช้อภิสิทธิ์ในความหมายนี้สังคมก็วุ่นวาย ประเทศชาติก็วุ่นวาย.
กณฺหาภิชาติ : อิต. กัณหาภิชาติ, กำเนิดดำ
ติณชาติ : อิต. ติณชาติ, หญ้า
ทยฺยชาติ : (อิต.) ชาติไทย
ปญฺจมหาวิโลกน : นป. การตรวจตราใหญ่ห้าประการ (เวลา, ประเทศ, ทวีป, ตระกูล, มารดา)
ปุพฺพชาติ : (อิต.) ชาติมีในก่อน, ชาติมีในกาลก่อน, ชาติก่อน, บุรพชาติ.
ปุพฺพณฺณชาติ : (อิต.) บุพพัณชาติ คือพืชที่จะกินก่อน ได้แก่ ข้าวทุกชนิด.
ปุริมชาติ : อิต. ชาติก่อน
พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
ภินฺนชาติ : (อิต.) ชาติอื่น, ต่างชาติ.
มนุสฺสชาติ : (อิต.) การเกิดเป็นมนุษย์, ชาติมนุษย์.
อนฺตชาติ : (อิต.) ชาติแห่งคนต่ำช้า (คนไม่มีตระกูล).
อริยชาติ : (อิต.) ชาติผู้เจริญ, อารยชาติคือชาติที่พ้นจากความป่าเถื่อน.
อายติชาติชรามรณีย : (วิ.) อันเป็นที่ตั้งแห่งชาติและชราและมรณะต่อไป.เป็นฐานตัท.มีส. ทวันและวิเสสนบุพ.กัม. เป็นท้อง.
ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
ธมฺมชาติ : (วิ.) มีตวามเกิดเป็นธรรมดา.
ปจฺฉาชาติ : กิต. เกิดภายหลัง
มิลกฺขชาติ : อิต. คนป่าเถื่อน
สญฺชาติ : อิต. ความเกิด
หิงฺคุชาติ หิงฺคสิปาฎิกา : (อิต.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
อภิชาติ : อิต. ๑. การเกิดใหม่, การปฏิสนธิ;
๒. วงศ์ตระกูล, เหล่ากอ
อภิชาติตา : อิต. ความเป็นผู้เกิด, การถือปฏิสนธิ; จำความ
อจลอจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
อจล อจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
ตณฺหามานทิฏฺฐิอิญฺชิต : (วิ.) (กิเลสชาต กิเลส ชาติ) อันบุคคลให้หวั่นไหวคือตัณหาและ มานะ และทิฏฐิ.
ชจฺจ : (นปุ.) ความเกิด, ความบังเกิด, กำเนิด. ชาติ. ชนฺ ชนเน, โย. แปลง นฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แล้วแปลงเป็น จฺจ.
ชจฺจนฺธ : (วิ.) บอดแต่กำเนิด, บอดโดยกำเนิด. วิ ชาติยา อนฺโธ ชจฺจนฺโธ. ชาติ+อนฺธ สำเร็จโดยวิธีสนธิดังนี้ แปลง อิ เป็น ย เป็น ชาตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ รัสสะ อา เป็น อ รวมเป็น ชจฺจนฺธ รูปฯ ๓๓๖.
ตามฺพปณฺณิทีป : (ปุ.) เกาะเป็นที่อยู่ของคน มีฝ่ามือแดง, เกาะลังกา. ปัจจุบัน ประเทศ ศรีลังกา.
นทฺยมฺพุชีวน : (ปุ.) ประเทศ (ที่) อันเป็นที่อยู่ ด้วยน้ำอันไหลมาจากแม่น้ำ, ที่อันเป็น อยู่ด้วยอาศัยน้ำมาแต่แม่น้ำ. วิ. นทิยา อาภเตน อมฺพุนา ชีวนฺติ เอตฺถาติ นทฺยมฺพุชีวโน.
ปพฺพเตยฺย : (วิ.) เกิดจากภูเขา, เกิดที่ภูเขา. วิ. ปพฺพตา ปพฺพเต วา ชาติ ปพฺพเตยฺยํ. มีในภูเขา, มีที่ภูเขา. วิ. ปพฺพเต ภวํ ปพฺพเตยฺยํ. เณยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒.
มโหสถ : (ปุ.) มโหสถ ชื่อ พระโพธสัตว์ชาติ ๑ ใน ๑๐ ชาติ.