ชมฺพุ (พู) ทีป : ป. ชมพูทวีปคือประเทศอินเดีย
ชมฺพูทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อประเทศอินเดีย โบราณ.
พินฺทุสาร : ป. ชื่อพระราชาแห่งประเทศอินเดียองค์หนึ่งผู้เป็นพระชนกของพระเจ้าอโศกมหาราช
สีหล สีหฬ : (ปุ.) สีหล สีหฬ ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
หิมวนิต : (ปุ.) เขาหิมพานต์. ป่าหิมพานต์ ชื่อภูเขาปกคลุมด้วยหิมะ ตั้งอยู่ตอนเหนือของประเทศอินเดีย. หิมพาน หิมวันต์ หิมวัต ก็เรียก.
อนฺตรฏฺฐก : นป. วันที่หนาวที่สุด ๘ วัน ในฤดูที่มีหิมะตก (ในประเทศอินเดีย)
อปรนฺต : ป. ที่สุด, ปลายแดน, อนาคต, ชื่อประเทศในอินเดียตะวันตก
อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
ปญฺจมหาวิโลกน : นป. การตรวจตราใหญ่ห้าประการ (เวลา, ประเทศ, ทวีป, ตระกูล, มารดา)
อจลอจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
อจล อจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
ตามฺพปณฺณิทีป : (ปุ.) เกาะเป็นที่อยู่ของคน มีฝ่ามือแดง, เกาะลังกา. ปัจจุบัน ประเทศ ศรีลังกา.
ทกฺขิณนิกาย :
(ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
นทฺยมฺพุชีวน : (ปุ.) ประเทศ (ที่) อันเป็นที่อยู่ ด้วยน้ำอันไหลมาจากแม่น้ำ, ที่อันเป็น อยู่ด้วยอาศัยน้ำมาแต่แม่น้ำ. วิ. นทิยา อาภเตน อมฺพุนา ชีวนฺติ เอตฺถาติ นทฺยมฺพุชีวโน.
เวรชฺชก : ค. หลาย ๆ ประเทศ
อุรุเวล : (ปุ.) ประเทศชื่อ อุรุเวละ, อุรุเวล ประเทศ.
กมฺโพช : (ปุ.) กัมโพชะ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. กมฺพุปุพฺโพ, โอชฺ ทิตฺติยํ, อ. ส. กมฺโพช.
กลิงฺคุ : ป., นป. ต้นไม้อินเดียชนิดหนึ่งคล้ายต้นพุด
กสฺมีร : (ปุ.) กัสมีระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ. กาสฺ ทิตฺติยํ, มีโร. เอา อา เป็น อ เป็นกสฺมิร โดยรัสสะ อี เป็น อิ บ้าง. ส. กศฺมีร.
กาลิงฺค : (ปุ.) กาลิงคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. กลฺ สทฺเท, อิงฺโค.
กาเวรี : (อิต.) กาเวรี กเวรี ชื่อแม่น้ำสาย ๑ ใน ๕ สายของอินเดีย วิ. นานาคาหา กุลีภูตตาย กุจฺฉิตํ เวร มสฺสาติ กาเวรี. แม่น้ำ ๕ สายคือ จันทราคา สวัสวดี เนรัญชรา กาเวรี และนัมมทา แม่น้ำ ๕ สายอีกอย่าง ๑ ดู อจิรวตี.
กาสิ : (ปุ.) กาสี ชื่อชนบทพิเศษ ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. สมฺปตฺติยา กาสตีติ กาสิ. กาสฺ ทิตฺติยํ, อิ. เวสฯ เป็น กาสี.
กุตุมฺพก : ป. ดอกกุตุมพกะ (ชื่อดอกไม้ชนิดหนึ่งในอินเดีย)
กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
โกสมฺพี : (อิต.) โกสัมพี ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ขาทถ ปิวถาติ อาทีหิ ทสหิ สทฺเทหิ กุสนฺติ เอตฺถาติ โกสมฺพี. กุสฺ อวฺหาเณ, วี, นิคฺคหิตาคโม, ฎีกาอภิฯ ลง พ ปัจฺ อี อิต.
ขตฺต : (ปุ.) กษัตริย์(ผู้ป้องกันประเทศ,นักรบ). ขฏฺฏฺ สํวรเณ, อ. แปลง ฏฺฏฺ เป็น ตฺต.
ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
จมฺปา : (อิต.) จัมปา ชื่อนครพิเศษของอินเดีย โบราณ วิ. จมนฺติ เอตฺถาติ จมฺปา จมุ อทเน, โป.
จีนรฏฐ : นป. ประเทศจีน
โจฬรฏฺฐ : นป. แคว้นโจฬะ, ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดียตอนใต้
ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
ชนปท : (ปุ.) ตำบล, บ้านเมือง, ประเทศถิ่น. ไทยใช้ ชนบท ในความหมายว่า พื้นที่ หรือ เขตแดนที่อยู่นอกเขตเมืองหลวง บ้านนอก. ส. ชนบท.
ชลธิ ชลธี : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล, มหาสมุทร. ศัพท์หลังทีฆะ. ส. ชลธิ.
ชลนิธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล, มหาสมุทร. วิ. ชลานิ นิธียนฺเต อตฺรติ ชลนิธิ. อิ ปัจ. ส. ชลนิธิ.
เชฏฺฐปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เจริญที่สุด, บุรุษผู้ เป็นพี่ใหญ่, เชฏฐบุรุษ ชายที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นพี่ใหญ่ด้วยได้ทำความดีให้แก่ ประเทศมาก.
เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
ฌร : (ปุ.) ประเทศมีน้ำ, แม่น้ำ. ส. ฌร.
ตกฺกสิลา : (อิต.) ตักกสิลา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ. วิ. โย ปุริสกาเรน อูโน โส ตตฺถ คนฺตฺวา ตํ อูนํ ปูเรตีติ ตกฺกสิลา
ตมฺพปณฺณิทีป : (ปุ.) ทวีปแห่งบุคคลผู้มีฝ่ามือ แดง. ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา.
ติณว : (ปุ.) มโหระทึก ชื่อกลองโลหะชนิดหนึ่ง ของชนชาติที่อยู่ตอนใต้ของประเทศจีน. ตนุ วิตฺถาเร, อโว, ณตฺตํ, อสฺส อิตฺตํ.
ติโรรฏฺฐ : ป. ต่างประเทศ, รัฐภายนอก
โตยธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล.
ทกฺขิณเทส : ป. ประเทศทางใต้, ดินแดนทางทิศใต้
ทกฺขิณาปถ : (ปุ.) ประเทศฝ่ายทิศใต้, ทักษิณาบถ.
ทิสาวาสิก, - วาสี : ค. ผู้อยู่ในทิศ, ผู้อยู่ต่างทิศ, ผู้อยู่ต่างผู้แดน, ผู้อยู่ต่างประเทศ
ทูรกนฺตน : นป. การกำจัดให้ไปในที่ไกล, การถูกขับไล่ให้ได้รับความอดสู, การทรยศต่อประเทศชาติ
เทวมาติก : (ไตรลิงค์) ที่มีข้าวกล้าสำเร็จด้วยฝน. วิ. เทโว มาตา อสฺสาติ เทวมาติโก. พหุพฺพีหิมฺหิ โก. วุฎงินิปฺผชฺชสฺสกเทส ประเทศมีข้าวกล้าสำเร็จด้วยฝน ฎีกาอภิฯ.