ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
ตปฺปน : (นปุ.) ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. ย ปัจ. ประ จำหมวดธาตุ ยุ ปัจ.
ปุพฺพจริต : (วิ.) อัน...ประพฤติแล้วในก่อน, อัน...ประ พฤติแล้วในกาลก่อน,ฯลฯ,
ปราปร : (วิ.) อื่นและอื่นยิ่ง, สืบๆมา, ต่อๆมา, ต่อเนื่องกัน.
ปราปรเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเกิดสืบๆมา, ความคิดต่อๆ มา,
อวมญฺญน : (นปุ.) ความสำคัญ, ความเข้าใจ.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, ยุ.ลงยปัจ.ประ-จำหมวดธาตุก่อนเป็นนฺยแปลงนฺยเป็นญฺญแปลงยุเป็นอน.
ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
ปราชย : (ปุ.) ความไม่ชนะแก่ข้าศึก, ความแพ้แก่ข้าศึก. ปร+ อชย. ความแพ้, ความพ่ายแพ้. ปราปุพฺโพ, ชิ ชเย, โณ. รเณยุทฺเธ โย ภงฺโค โส ปราชโย นาม. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ
กกฺการุ : (ปุ.) ฟัก, แฟง, แตง, น้ำเต้า. ถ้าประ โยคมี ติ สังขยาอยู่ แปลรวมเป็น ฟักแฟง แตง น้ำเต้า. นับ ฟัก แฟง รวมเป็น ๑. อรุ ปัจ.
กตสรีรปฏิชคฺคน : (วิ.) ผู้มีการประคับประคองซึ่ง สรีระอันทำแล้ว.
กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
คามกูฏ : ป. คนโกง, คนประจบประแจง, คนสอพลอ
จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
จตุราสีติสหสฺส : (นปุ.) พันแปดสิบสี่เป็นประ มาณ, พันแปดสิบสี่, แปดหมื่นสี่พัน.
จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
ชานุปฺปมาณอุรุปฺปมาณกฏิปฺปมาณาทิ : (วิ.) มีน้ำมีเข่าเป็นประมาณและมีน้ำมีขาอ่อน เป็นประมาณ และมีน้ำมีสะเอว เป็นประ มาณเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตุล, ฉ. ตุล., ฉ.ตุล. และ ส.ทวัน. เป็นท้อง.
ชิวฺหายตน : (นปุ.) อายนะคือลิ้น, ชิวหาประ สาท (หมายเอาประสาทรับรู้รส).
ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
เถยฺยจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบด้วยความเป็น แห่งขโมย, จิตประกอยด้วยความเป็น ขโมย, จิตเครื่องความเป็นขโมย, เถยยจิต ไถยจิต (จิตคิดจะลัก).
ทีฆโสตฺติย : (นปุ.) ความเป็นคนแห่งคนผู้ประ พฤติช้า, ความเป็นคนประพฤติช้า, ฯลฯ, ณีย ปัจ. ภาวตัท.
ทุสน โทสน : (นปุ.) อันประทุษร้าย, การประ- ทุษร้าย, ความประทุษร้าย. ทุสฺ โทสเน, ยุ. ศัพท์ตันทีฆะ ศัพท์หลัง พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
นรสภ : (วิ.) ผู้ประเสริฐ์กว่านระ, ผู้สูงสุดกว่า นระ, ผู้ประเสริฐ์ในนระ, ผู้สูงสุดในนระ, ผู้องอาจในนระ
นราสภ : (ปุ.) นระผู้ประเสริฐ์, นระผู้สูงสุด, วิ. นโร อาสโภ นราสโภ. นระเพียงดังโคผู้ วิ. นโร อาสโภ อิว นราสโภ.
ปคฺคณฺหาติ : ก. ประคับประคอง, ยกย่อง
ปคฺคห : ป. การยกย่องประคับประคอง, อุปถัมภ์, เพียร
ปฏิโลเภติ : ก. ประเล้าประโลม, ยั่วยวน, ล่อ
ปฏิเสนิยติ : ก. ประพฤติเป็นศัตรู, แก้แค้น, โต้เถียง, ประคารม, ไสส่ง
ปทกฺขิณา : อิต. ประทักษิณ, การเวียนขวา, การเดินเวียนรอบโดยหันเบื้องขวาเข้าหาปูชนียบุคคลหรือปูชนียวัตถุเพื่อเป็นการแสดงความเคารพ
ปทุสฺสน : (นปุ.) การประทุษร้าย, ความประ ทุษร้าย.ปปุพฺโพ, ทุสฺโทสเน ยุ, สฺสํโยโค
ปนตฺต : (ปุ.) เหลน, ปนัดดา, ประนัปดา คือ ลูกของหลานปู่. ส. ปรฺนปตุ.
ปพนฺธกปฺปนา : (อิต.) ประพันธกถาศาสตร์ ( นิยายที่แต่งขึ้นต่อเนื่องยืดยาว ) วิ. ปพนฺเธเนว จ สวิตฺถาเรน กปฺปนํ ยสฺสา สา ปพนฺธกปฺปนา.
ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
มตฺตาสุขปริจาค มตฺตาสุขปริจฺจาค : (ปุ.) การสละรอบซึ่งสุขพอประมาณ, การเสียสละซึ่งสุขมีประ มาณน้อย, การสละซึ่งสุขพอประมาณ.
มโหสถ มโหสธ : (นปุ.) ยาใหญ่, ยาประเสรฐ.
สมฺปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วพร้อม, การประกอบด้วยดี, การประกอบพร้อม, การประกอบด้วยดี, การประกอบกันฐ การประจวบกัน, การพบกัน, การประสบ. สํปปุพฺโฑ, ยุชุ โยเค, โณ, ชสฺส โค.
สิเนห : (ปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
สิเนหน : (นปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
สุกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยง่าย, อัน...ทำได้ง่าย. วิ. สุเขน กริยตีติ สุกรํ. ข ปัจ. ลบ ข ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์เหมือนบทที่ประกอบด้วยอนีย์ ตพฺพ หรือ ต ปัจ. ได้. ผู้มีมืองาม. วิ. สุนฺทโร กโร ยสฺส โส สุกโร.
สุภอกฺขร : (ปุ. นปุ.) ศุภอักษร คือ สารของเจ้าประเทศร, สาสน์ของเจ้าประเทศราช. ส. ศุภอักษร.
อธิปาย อธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่ง จิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประ สงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็น การอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ. อธิปยติ จินฺเตตีติ อธิปฺปาโย. อธิปียเตติ วา อธิปฺปา โย. อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ. อิ วา คมเน, โณ, ปฺอาคโม. อถวา, โย อตฺโถ ปณฺฑิเตน อธิปียเต โส อตฺโถ อธิปฺปาโย. ส. อภิปฺราย
อนาจาร : (วิ.) มิใช่มรรยาทอันบุคคลพึงประ-พฤติโดยเอื้อเฟื้อ.ส. อนาจาร.
อนุยุญชติ : ก. ตามประกอบ, ประกอบเนืองๆ
อนุยุญฺชนา : อิต. การประกอบเนืองๆ, การทำบ่อยๆ
อนุยุตฺต : (วิ.) ประกอบเนืองๆ, ประกอบบ่อยๆ, ขวนขวาย.
อาจิณฺณกปฺป : ป. ความประพฤติที่ทำต่อๆ กันมา, การประพฤติเนืองๆ
อาณาปชารฏฺฐ : (ปุ.) ราษฏรชาวเมืองผู้อยู่ในอำ-นาจปกครอง, ราษฏรชาวเมืองซึ่งอยู่ในอำ-นาจปกครอง, อาณาประชาราษฏร์.