สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
สีล : (นปุ.) สภาวะ, ธรรมชาติ, ปกติ. สีลฺ สมาธิมฺหิ, อ.
ธมฺมชาติ : (วิ.) มีตวามเกิดเป็นธรรมดา.
สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
กฏฐคฺคิ : ป. ไฟเกิดแต่ไม้, ไฟธรรมชาติ
จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
ชาตสฺสร : ป., นป. สระที่เกิดเอง, สระธรรมชาติ
ชาติสุวณฺณ : นป. ทองคำธรรมชาติ, ทองเนื้อดี, ทองแท้
ชาติสุวรณฺณ : (นปุ.) ทองเกิดโดยกำเนิด, ทอง แต่กำเนิด, ทองธรรมชาติ, ทองคำธรรม ชาติ.
ชาติหิงฺคุลก : นป., ค. สีแดงตามธรรมชาติ
ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
ญาณผุสนา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูก ต้องคือญาณ, ความถูกต้องคือญาณ,ความถูกต้องด้วยญาณ.
ญาตปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึง กำหนดรู้อันตนรู้แล้ว, การกำหนดรู้ด้วย ความรู้.
ตพฺภาว : ป. ความเป็นอย่างนั้น, ธรรมชาติที่เป็นจริง
ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
ธาตุนานตฺต : นป. ความเป็นต่างๆ กันแห่งธรรมชาติหรือธาตุ
นิณฺณย : (ปุ.) ธรรมชาติตัดอารมณ์ไป, ความตระหนักแน่น, ความแน่ใจ. วิ. อารมฺมณํ นิจฺฉินนฺโต นยตีติ นิณฺณโย. นิปุพฺโพ, นยฺ คมเน, อ, นสฺส ณตฺตํ. เป็น นินฺนย โดย ไม่แปลง น เป็น ณ บ้าง.
ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
ปากติก : ค. ซึ่งเป็นปกติ, ซึ่งเป็นไปตามธรรมชาติ
ปาฏิหาริ, ปาฏิหาริก, ปาฏิหาริย, ปาฏิหีร, ปาฏิเหร : นป. ปาฏิหาริย์, ความมหัศจรรย์, ปรากฏการณ์ที่แปลกประหลาด
ปาตุภาว : ป. ปรากฏการณ์, สิ่งที่ปรากฏขึ้น
ปาสาณตล : นป. แผ่นหิน, พื้นหิน ; ที่ราบสูงตามธรรมชาติ
ผุสน : (นปุ.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
ผุสนา : (อิต.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
ภวนิสฺสรณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องออกไปจากภพ, ธรรมชาติเป็นเครื่องสกัดออกจากภพ.
มชฺฌฏฺฐ, มชฺฌตฺต : ค. กลางๆ , ตามธรรมชาติ, ยุติธรรม
เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
เลณ : นป. ถ้ำที่เป็นเอง, ถ้ำธรรมชาติ; ความปลอดภัย, ที่กำบัง
สิพฺพนี สิพฺพินี : (อิต.) ธรรมชาติอันร้อยรัด, ธรรมชาติอันรัดรึง (ผูกแน่น), ธรรมชาติเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ตัณหาเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ธรรมชาตผูกเย็บ (ผูก) ภพเป็นต้น ไว้ด้วยภพเป็นต้น, ตัณหา. วิ. ภวาทีหิ ภวาทโย สิพฺพตีติ สิพฺพนี สิพฺพินี วา. อี อินี อิต.
สีติภูติ : (วิ.) เป็นธรรมชาติเย็นเป็นแล้ว.
สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
เหลา : (อิต.) ธรรมชาติตัดซึ่งทุกข์, เหลา ชื่อกิริยาท่าทาง. น่าเสน่หาของหญิง. วิ. หึ ทุกฺขํ ลุนาตีติ เหลา. หิปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อิตฺถิยํ อา. หิลฺ หาวกรเณ, อ. เป็น เหฬา บ้าง.
อคติ : (อิต.) ธรรมชาติมิใช่เป็นที่ไปแห่งพระอริยเจ้า, ธรรมชาติมิใช่เครื่องไปแห่งพระอริยเจ้า, ภูมิมิใช่เป็นที่ไปแห่งพระอริยเจ้า, ภูมิมิใช่เป็นที่ไปแห่งท่านผู้รู้, กิริยาที่ไม่ควรถึง, กิริยาที่ไม่ควรประพฤติ, คติไม่ควร.นปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, ติ, มฺโลโป.ความลำเอียง. อคฺ กุฏิลคติยั, ติ. ส. อคติ.
อธิจิตฺต : (นปุ.) ธรรมชาติอันอาศัยซึ่งจิตเป็นไป(จิตฺตสฺส อธิกจฺจ ปวตฺตนํ), จิตยิ่ง, อธิกจิตหมายถึงจิตที่ได้สมาธิถึงขั้นฌาน.วิ.อธิกํจิตฺตํอธิจิตตํ.
อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
อนุธมฺมตา : อิต. ความเป็นธรรมอันสมควร, ความเป็นจริงตามธรรมชาติ
อภิสนฺทิ : อิต. อัชฌาสัย, ธรรมชาติผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความมุ่งหมาย
อภิสนฺธิ : (อิต.) ธรรมชาติผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความมุ่งหมาย, อัธยาศัย.วิ.จิตฺเตอภิสนฺ-ธายเตติอภิสนฺธิ.อภิสํปุพฺโพ, ธาธาร-เณ, อิ.
อวุตฺติปริโภค : ป. การบริโภคอาหารที่ผิดธรรมชาติ (คืออาหารที่เขาไม่นิยมกินกัน)
อาปทา : (อิต.) ธรรมชาติอันยัง สัตว์ให้ถึงซึ่งความลำบาก, อันตราย, จัญไร, ภัย, พิบัติ.วิ.อาปชฺชนํอาปทา.อฏฺฏํปีฬนํปชฺชตีติวาอาปทา.อาปุพฺโพ, ปทฺคติยํ, อ.อาอุปสรรคลงในอฏฺฏส. อาปทา.
อาป, อาโป : ป., นป. น้ำ, ของเหลว, ธรรมชาติที่ซึมซาบ
อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
อุปาทาน : (นปุ.) การถือมั่น การยึดมั่น (ในสิ่งนั้น ๆ), การยึดไว้, ความถือมั่น, ฯลฯ, ธรรมชาติเป็นเครื่องเข้าไปถือเอา, ของกำนัล ที่ส่งไปให้, เชื้อ, เชื้อไฟ, ฟืน. อุป อา ปุพฺโพ, ทา ทานอาทาเนสุ, ยุ. ส. อุปทาน. อุปาทานกฺขนฺธ
อุปาทิ : (อิต.) ธรรมชาติอันตัณหาเป็นต้นถือ เอาสภาวะเป็นผลของตน, ธรรมชาติอันตัณหาเป็น ต้นเข้าไปถือเอา,ธรรมชาติผู้เข้าไปถือเอา (ขันธปัญจกะ), สังโยชน์. อุป อา ปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อิ.