ทิสฺสติ : ก. (อันเขา) เห็น, ปรากฏ
นิปฺปชฺชติ : ก. สำเร็จ, เกิดขึ้น, ปรากฏ
ปฏิทิสฺสติ : ก. (อันเขา) เห็นเฉพาะ, ปรากฏเฉพาะ, ปรากฏ
ปทิสฺสติ : ก. (อันเขา) เห็น, ปรากฏ
ปสิทฺธ : ค. สำเร็จ, ปรากฏ, ชำนาญ
ปาตุ : อ. ข้างหน้า, ปรากฏ, พอมองเห็นได้
เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
ภาว : (วิ.) มี, เป็น อุ. มูลภาว เป็นรากเหง้า, ปรากฏ, เกิด, เจริญ, สรรเสริญ.
ยถาภุจฺจ, - ภูต : ค. จริง, แท้, ปรากฏ; ตามความเป็นจริง, สมควรเป็นจริง
สนฺทิสฺสติ : ก. เห็น, ปรากฏ
สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
อวกฺกมติ (โอกฺกมติ) : ก. ก้าวลง, เกิด, ปรากฏ
อวภูต : ค. ต่ำ, ไม่มีค่า, น่าเกลียด, ปรากฏ
อุคฺคติ : อิต. การขึ้นไป, โผล่ขึ้น, ปรากฏ
อุตฺตานี : ค. เปิดเผย, ปรากฏ, ตื้น
ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
ขายน : (วิ.) ประกาศ, แสดง, ปรากฏ. ขา ปกาสเน. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. นามกิตก์.
นิฏฺฐา : (อิต.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
นิฏฐาน : (นปุ.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
อินฺทฺริยคฺคยฺห : (วิ.) ประจักษ์, ปรากฏ. วิ. อินฺทฺริยํ จกฺ ขาทิกํ เตน คยฺหํ อินฺทฺริยคฺคยฺหํ.
โกธปญฺญาณ : (วิ.) มีความโกรธปรากฏ, มีความแค้นเคือง, มีความมุทะลุ.
โกธปญฺญาณ, ญาน : ค. ผู้มีความโกรธเป็นเครื่องปรากฏ, ผู้โกรธง่าย
ขฺยาต : (วิ.) ปรากฏ, รู้, ชำนาญ, เฉียบแหลม, เฉลียวฉลาด, มีชื่อเสียง ขฺยา ปกาสเน, โต.
ขายติ : ก. ปรากฏว่า, คล้ายกับว่า, ประหนึ่งว่า; กล่าวว่า, เรียกว่า
คมฺภีราวภาส : ค. ซึ่งมีความลึกซึ้งปรากฏ, ปรากฏว่าลึกซึ้ง
คลนฺตฏฺฐิ : (นปุ.) การออกเสียง, การปรากฏ. คุ สทฺเท อุคฺคเม จ, โณ.
ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
ทสฺสิต : ๑. กิต. (อันเขา)แสดงแล้ว;
๒. ค. ผู้ (มีเครื่องแบบ) ปรากฏแล้ว, ผู้เตรียมเครื่องรบพร้อมสรรพแล้ว, ผู้สวมเกราะแล้ว
ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ;
๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
ทิฏฺฐก : ค. ซึ่งถูกเห็น, ซึ่งถูกพบ, ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏ
ทิฏฺฐานุคติ : (อิต.) อันเป็นไปตามซึ่งความยินดี, ฯลฯ, อันเป็นไปตามซึ่งความเห็น, อันเป็นไปตามซึ่งทิฎฐิ, ความดูเยี่ยงด้วยสามารถแห่งทิฎฐิ, ความดำเนินตามซึ่ง สิ่งอันปรากฏ, แบบอย่าง.
ธูมายิตตฺต : (วิ.) ปรากฏราวกะว่าควัน วิ. ธูโม วิย ทิสฺสตีติ ธูมายิตตฺตํ. ธูมศัพท์ อายิตตุต ปัจ. กัจฯ ๓๕๗.
นตฺถิตา : อิต. ความเป็นคืออันไม่มี, ความไม่มี, ความไม่ปรากฏ
นปุสก : ป. นปุงสกลิงค์, ไม่ปรากฏเพศชายเพศหญิง, บัณเฑาะก์, กะเทย, ขันที
นิภตา : อิต. ความเหมือนกัน, การสมดุลย์กัน; ความปรากฏ; หน้าตารูปร่าง
ปญฺญาณ : นป. ความรู้ทั่ว, ความปรากฏ
ปญฺญาต : นป. รู้ทั่วแล้ว, ปรากฏแล้ว
ปญฺญายติ : ก. ปรากฏ, ประกาศ
ปฏิทสฺเสติ : ก. แสดงเฉพาะ, แสดงตน, ปรากฏใหม่
ปฏิภาติ : ก. แจ่มแจ้ง, ปรากฏชัด (ขึ้นในใจ)
ปณฺณตฺติก : ค. ซึ่งมีบัญญัติ, ซึ่งมีเครื่องสำแดงให้ปรากฏ, ซึ่งปรากฏชื่อ
ปถิต : (วิ.) ปรากฏ, มีชื่อเสียง. ปถฺ วิขฺยาเต, โต, อิอาคโม.
ปทิสฺส : ค. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏ
ปเทสลกฺขณ : นป. ลักษณะที่ปรากฏแต่เพียงบางส่วน, หมายถึงลักษณะของพระโพธิสัตว์ที่มีอยู่แต่เพียงบางประการ
ปสิฏฺฐ : ค. ปรากฏ, มีชื่อเสียงโด่งดัง
ปสิทฺธิ : อิต. ความสำเร็จ, ความปรากฏ, ความชำนาญ
ปากฏ : ค. ปรากฏแล้ว, รู้แล้ว, มีชื่อเสียง; ซึ่งคุ้มครองไม่ได้; สามัญ; เลว
ปากาสิย : ค. ซึ่งปรากฏ, เห็นชัด, แจ่มแจ้ง
ปาตุกมฺม : นป. การทำให้ปรากฏ
ปาตุกรณ : นป. การกระทำให้ปรากฏ, การทำให้เกิดขึ้น