Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปรา , then บรา, ปร, ประ, ปรา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปรา, 177 found, display 1-50
  1. ปรา : (อัพ. อุปสรรค) เสื่อม, ฉิบหาย, กลับความคือนำหน้าธาตุแล้ว ทำให้ธาตุนั้นมีความกลับกันจากเดิม อุ. ชิต ชนะแล้ว ลง ปรา เป็น ปราชิต แพ้แล้ว เป็นต้น.
  2. ปราปร : (วิ.) อื่นและอื่นยิ่ง, สืบๆมา, ต่อๆมา, ต่อเนื่องกัน.
  3. ปราปรเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเกิดสืบๆมา, ความคิดต่อๆ มา,
  4. ปราชย : (ปุ.) ความไม่ชนะแก่ข้าศึก, ความแพ้แก่ข้าศึก. ปร+ อชย. ความแพ้, ความพ่ายแพ้. ปราปุพฺโพ, ชิ ชเย, โณ. รเณยุทฺเธ โย ภงฺโค โส ปราชโย นาม. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ
  5. ปราภิสชฺชนี : (วิ.) ขัดใจคนอื่น. ปร + อภิสชฺชนี.
  6. ปราชียติ : ก. (อันเขา) ให้แพ้, แพ้
  7. ปราภูต : ค. ผู้เสื่อม, ผู้ย่อยยับแล้ว
  8. ปรมฺปรา : (อัพ. นิบาต) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, ก่นเก่า, นานมา, โบราณนานมา. วิ. ปเร จ ปเร จ ปรมฺปรา.
  9. ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
  10. ธนปราชย : ค. ผู้ปราชัยในทรัพย์, ผู้เสียทรัพย์
  11. ปุรา : (อิต.) เรือน, ฯลฯ, พระนคร. ดู ปุร(นปุ.).
  12. พาหาปรมฺปรา : อิต. การคล้องแขนด้วยแขน, การควงแขนกัน
  13. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  14. ปรา : (ปุ.) ละอองเกิดแต่ดอกไม้, ละออง ดอกไม้, เกสรดอกไม้. วิ. ปุปฺผโช รโช ปุปฺผธุลิ ปราโค. ลบ ปฺผช แปลง อุ เป็น อ ทีฆะ อ ที่ ร แปลง ช เป็น ค. ฝุ่น, ละออง, ผงหอม, จันทน์หอม.
  15. ปราภวน : (นปุ.) ความไม่เห็นแก่กัน, ความดูแคลน, ความดูถูก, ความดูหมิ่น, นินทา. ปราปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, ยุ.
  16. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  17. ปรทาริก : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งภรรยาของคนอื่น ( ผิดเมียเขาในทางประเวณี ) วิ. ปรทารํ คจฺฉตีติ ปรทาริโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  18. ปรทาริกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของคนผู้ถึงซึ่ง ภรรยาของคนอื่น วิ. ปรทาริโก จ โส ปุคฺคโล จาติ ปรทาริกปุคฺคโล. ปรทาริก ปุคฺคลสฺส กมฺมํ ปรทาริกกมฺมํ.
  19. ปรนิมฺมิตวสวตฺตี : (ปุ.) เทวดาชั้นปรนิม มิตวสวัตตี วิ. ปรนิมฺมิเตสุ โภเคสุ วสํ วตฺเตนฺตีติ ปรนิมฺมิตวสวตฺตี ( เทวา ) . ปรนิมมิตวสวัตดี ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๖.
  20. ปรปกฺข : (ปุ.) ชนผู้เป็นฝักฝ่ายอื่น, ข้าศึก, ศัตรู, ปรปักษ์. ส. ปรปกฺษ.
  21. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  22. ปรภุต : ค., ป. ดู ปรปุฏฺฐ
  23. ปรมนฺน : (นปุ.) ข้าวปายาส ( ข้าวระคนด้วย น้ำนม ) วิ. เทวนฺนตฺตา ปรมญฺจ ตํ อนฺนญฺเจติ ปรมนฺนํ.
  24. ปรมาภิเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออย่างยิ่ง, ชื่อ, ปรมา- ภิไธย (ชื่อ ) ใช้เฉพาะพระเจ้าแผ่นดิน.
  25. ปรเมสฺสร : (ปุ.) ชนผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, เทพผู้เป็น ใหญ่ยิ่ง, พระอิศวร, ปรเมศวร์.
  26. ปร : อ. เบื้องหน้า, ถัดไป, ต่อจาก, พ้นไป, ในฝ่ายอื่น
  27. ปรกมฺม : นป. การงานของผู้อื่น
  28. ปรการ : ป. การกระทำของผู้อื่น, การสร้างสรรค์โดยผู้อื่น
  29. ปรกุล : นป. ตระกูลของผู้อื่น, ตระกูลอื่น
  30. ปรคุณมกฺขลกฺขณ : (วิ.) ผู้มีอันลบหลู่ซึ่งคุณ แห่งบุคคลอื่นเป็นลักษณะ.
  31. ปรจิตฺต : (นปุ.) จิตของบุคคลอื่น, จิตของ สัตว์อื่น.
  32. ปรจิตฺตชานน : (นปุ.) ความรู้จิตของบุคคล อื่น, ฯลฯ.
  33. ปรจิตฺตวิชานน : นป. การรู้แจ้งจิตของผู้อื่น, การรู้ความคิดของผู้อื่น
  34. ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
  35. ปรตีร : (นปุ.) ฝั่งอื่น, ฝั่งโน้น, ฟากโน้น . ฟาก คือ ฝั่ง, ข้าง.
  36. ปรตุกมฺยตา : (อิต.) ความที่แห่งคำพูดเป็น คำพูดเพื่อยังคนอื่นให้รัก (พูดสอพอเพื่อให้เขารัก ).
  37. ปรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างอื่น, ข้างหน้า.
  38. ปรทาร : ป. ภรรยาของบุคคลอื่น, เมียของผู้อื่น
  39. ปรทารกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการประพฤติ ล่วงซึ่งภรรยาของบุคคลอื่น, การประพฤติ ล่วงภรรยาของคนอื่น, การคบหาภรรยา ของผู้อื่น. คบหา หมายถึง การคบในทาง ชู้สาว.
  40. ปรทารเสวนา : (อิต.) การเสพภรรยาของคนอื่น.
  41. ปรธมฺมิก : ค. ผู้ประพฤติตามธรรมของผู้อื่น, ผู้ประพฤติตามคำสั่งสอนของผู้อื่น
  42. ปรนิฏฺฐิต : ค. ซึ่งผู้อื่นให้สำเร็จ, ซึ่งผู้อื่นทำให้สำเร็จสิ้นแล้ว, ซึ่งผู้อื่นให้จบลงแล้ว
  43. ปรนิมฺมิต : ค. ซึ่งผู้อื่นสร้างไว้แล้ว, ผู้อื่นเนรมิตไว้แล้ว
  44. ปรเนยฺย : ค. ผู้ควรที่ผู้อื่นจะแนะนำได้, ซึ่งถูกผู้อื่นชักจูง, ผู้อยู่ในปกครองของผู้อื่น
  45. ปรปริคฺคหิตสญฺตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคล มีความสำคัญว่าของอันบุคคลอื่นหวงแหน แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความรู้ว่าของ อันคนอื่นหวงแหนแล้ว, ความเป็นผู้มี ความรู้ว่าของมีคนอื่นหวงแหน, ความรู้ว่า ของมีเจ้าของหวงแหน.
  46. ปรปาณ : ป. สัตว์อื่น
  47. ปรปุคฺคล : ป. บุคคลอื่น
  48. ปรปุฏฺฐ : ค., ป. ผู้ที่คนอื่นเลี้ยงแล้ว; นกดุเหว่า
  49. ปรปุตฺต : ป. บุตรของคนอื่น
  50. ปรปุริส : (ปุ.) บุรุษอื่น, บุรุษอื่นๆ, บุรุษ เบื้องหลัง.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-177

(0.0618 sec)