ปริวาร : ป. ผู้แวดล้อม, คนติดตาม, ของสมทบ
ทิยฑฺฒสหสฺสนาฏกิตฺถีปริวาร : (วิ.) มีหญิง ฟ้อนมีพันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตัป. มี วิเสสนบุพ. กัม., วิเสสนบุพ. กัม., ฉ. ตุล., และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน.
เทวปริวาร : ค. ผู้มีเทวดาเป็นบริวาร
ภิกฺขุสตสหสฺสปริวาร : (วิ.) มีแสนแห่งภิกษุเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตลุ. มี ฉ. ตัป. เป็น ท้อง.
มหาภิกฺขฺสฆปริวาร : (วิ.) (สตฺถา) ทรงมีหมู่แห่งภิกษุใหญ่เป็นบริวาร.
สปริวาร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยบริวาร, มีบริวาร, มีผู้แวดล้อม, มีผู้ห้อมล้อม. วิ.สห ปริวาเรหิ วตฺตตีติ สปริวาโร.
อจฺฉราสหสฺสปริวาร : (วิ.) ผู้มีพันแห่งนางอัปสรเป็นประมาณเป็นบริวาร, ผู้มีพันแห่งนางอัปสรเป็นบริวาร, มีนางอัปสรพันหนึ่งเป็นบริวาร.
ปริชน : (ปุ.) ชนผู้แวดล้อม, ชนผู้ข้างเคียง, ชนผู้เป็นบริวาร, ชนข้างเคียง, ชนผู้เป็น บริวาร. ปริวาร+ชน ลบ วาร.
อชฺฌาวร : ป. การบริการ, การรับใช้, บริวาร, ผู้แข่งขัน
อนุพล : นป. กำลังสนับสนุน, การสนับสนุน, การช่วยเหลือ; บริวาร
อภิสร : ป. บริษัท, บริวาร
กรวีก : (ปุ.) กรวีกะ ชื่อภูเขาลูกที่ ๓ ใน ๗ ลูก ซึ่งเป็นบริวารของภูเขาสุเมรุ.
กุเวรานุจร : (ปุ.) อมนุษย์ผู้เป็นบริวารของ ท้าวกุเวร.
จตุมฺมหาราชิก : ค. จาตุมมหาราชิกะ, (หมู่เทวดา)ผู้เป็นบริวารของท้าวจาตุมมหาราชอยู่ในชั้นจาตุมมหาราชซึ่งเป็นสวรรค์ชั้นที่หนึ่ง
ปริณายก ปรินายก : (ปุ.) คนผู้นำบริวาร, คนผู้ เป็นหัวหน้าบริวาร, ปริวารปุพฺโพ, นิ นเย, ณฺวุ. คนผู้เป็นหัวหน้า, คนผู้เป็นใหญ่.ปริ ปุพฺโพ, นิ นเย, ณฺวุ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
ปริณายิกา ปรินายิกา : (อิต.) หญิงผู้นำบริวาร, ฯลฯ.
ปาริสชฺช : ค. ผู้เป็นบริวาร, ผู้แวดล้อม
พฺรหฺมปริสา : อิต. บริษัทแห่งพรหม, บริวารแห่งพรหม, การประชุมแห่งพวกพรหมในพรหมโลก
ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
ยโสธรา : (อิต.) พระนางยโสธรา วิ. ยโส วุจฺจติ ปริวาโร กิตฺติ จ, เต ธาเรตีติ ยโสธรา (ผู้ทรงไว้ซึ่งบริวารและชื่อเสียง). ยส+ธรฺ+อ ปัจ. แปลง อ ที่ ส เป็น โอ.
ยุคนฺธร : (ปุ.) ยุคนธร, ยุคันธร, ยุคุนธร ชื่อภูเขาซึ่งเป็นบริวารของเขาพระสุเมรุ.
ราชปริสา : อิต. ราชบริวาร
อิสธร อิสินฺธร : (ปุ.) อิสธร อิสินธร ชื่อภูเขา ลูกหนึ่งใน ๗ ลูก ซึ่งเป็นบริวารของเขา สุเมรุ อภิฯ และ ฎีกอภิฯ เป็น อีสธร.