ปริ : (อัพ. อุปสรรค) รอบ, โดยรอบ, ทั่วไป, กำหนด. ขาด, บ่อยๆ, อ้อม, เว้น อุ. ปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ออก อุ. ปริ สาลาย อายนฺติ วาณิชา. เฉพาะ อุ. รุกฺขํ ปริ วิโชตติ จนฺโท.
ปริตาป ปริตฺตาป : (ปุ.) ความร้อนใจ, ความร้อนใน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกระหาย, ปริ ปุพฺโพ, ตปฺ สนฺตาเป, โณ.
ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
ปริณต ปรินต : (วิ.) น้อมไปโดยรอบ, แปรไป, เปลี่ยนแปลง, คร่ำคร่า, แก่, แก่จัด, แก่เฒ่า, ปริ+นมฺ+ต ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
ปริโต : (อัพ. นิบาต) โดย...ทั้งปวง, แต่...ทั้ง ปวง, ใน...ทั้งปวง, โดยรอบ. ปริ+โต ปัจ. รูปฯ ๒๘๒ ว่า โต ปัจ. ลงในอรรถ ตติยา ปัญจมี และ สัตตมี.
ปริธี : (ปุ.) รัศมีกลม, รัศมีทรงกลม, แสงทรง กลม, แสงทรงกลด คือแสงเลื่อมพรายงาม เป็นวงกลมรอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์. วิ. สุริยสฺส จนฺทสฺส วา ปริ สมนฺตโต ธียเตติ ปริธี. ปริปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อี.
ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
ปริฆาส : (ปุ.) เดน ( ของเหลือที่ไม่ต้องการแล้ว ) , อาหารเป็นเดน, อาหารเดน. ปริปุพฺโพ, ฆสฺ อทเน, โณ.
ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
ปริจรณ : (นปุ.) การบำเรอ, ความบำเรอ. ปริปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
ปริฑยฺห : (ปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
ปริฑยฺหน : (นปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
ปริณย : (ปุ.) งานบ่าวสาว, วิวาหะ, วิวาห มงคล. ปริปุพฺโพ, นิ นเย, อ.
ปริทฺทว ปริเทว : (ปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
ปริทหน : (นปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
ปริทาห : (ปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
ปริเทว : ป., (ปริเทวนา อิต.) การร้องไห้, การคร่ำครวญ
ปริเทวน : (นปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
ปริเทวนา : (อิต.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
ปริเทวิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้ ร้องไห้แล้ว, ฯลฯ. ปริเทวิต+ตฺต ปัจ. แปล ปริเทวิต เป็น กิริยากิตก์. ความเป็น แห่ง...เป็นผู้ร้องไห้, ฯลฯ. แปล ปริเทวิต เป็นนาม.
ปริปนฺถ : (ปุ.) อันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน รอบ, อันตรายในทางเปลี่ยว, ทางเปลี่ยว, หนทางเปลี่ยว, อันตราย อุ. โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ. ปริปุพฺโพ, ปถิ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
ปริกนฺต : ๑. กิต. (อันเขา) เฉือนแล้ว, ผ่าออกแล้ว;
๒. นป. กรรมที่กระทำด้วยกาย; การกระเสือกกระสนด้วยกาย
ปริกนฺตติ : ก. เฉือน, ฝาน, ตัด, ผ่าออก, เสียดแทง; หมุน, (จักร) ผัน, บิด
ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
ปริกมฺมกต : ก. ทำบริกรรมแล้ว
ปริกมฺมการก : ก. ผู้ทำบริกรรม, ผู้ตระเตรียม
ปริกร : (ปุ.) เกราะ.
ปริกุปฺปติ : ก. กำเริบ, ยุ่งยาก
ปริกูชน : (วิ.) ครวญ, กังวาน, ก้องกังวาน.
ปริเกฺลส : ป. ความลำบาก, ความเศร้าหมอง
ปริโกปิต : กิต. โกรธแล้ว, กำเริบแล้ว, แค้นเคืองแล้ว
ปริโกเปติ : ก. โกรธ, กำเริบ, แค้นเคือง
ปริขนติ, (ปฬิขนติ) : ก. ขุด
ปริคฺคห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา, ฯลฯ. อ, ยุ ปัจ.
ปริคฺคหณ : (นปุ.) การกำหนดถือเอา, ฯลฯ. อ, ยุ ปัจ.
ปริคฺคหิต : กิต. ยึดถือแล้ว, กำหนดแล้ว, สำรวจแล้ว, ค้นหาแล้ว
ปริคณฺหณ : นป. การยึดถือ, การสอบสวน, ความเข้าใจ, ความกำหนด
ปริคณฺหาติ : ก. ยึดถือ, กำหนด, สำรวจ, ค้นหา
ปริคิลติ : ก. กลืน
ปริคูหติ : ก. ปกปิด, ซ่อน
ปริคูหนา : อิต. การปกปิด, การซ่อน
ปริฆาต : (วิ.) ฆ่า, ประหาร, กำจัด, เบียดเบียน.