อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
กมฺมาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งคือกรรม, การปรุงแต่งขึ้นด้วยกรรม, การปรุงแต่ง ขึ้นด้วยอำนาจแห่งกรรม.
กายสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งกาย, สังขาร คือกาย.
จิตฺตสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งซึ่งจิต, ความปรุงแต่งแห่งจิต, สภาพผู้ปรุงแต่งจิต.
ฉนฺทสามาธิปธานสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง อันเป็นประธานคือความตั้งมั่นแห่งความพอใจ.
นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
วิสงฺขาร : ค. ปราศจากเครื่องปรุงแต่ง
อปุญฺญาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งมิใช่บุญ, สภาพผู้ปรุงแต่งคือบาป, อภิสังขารคือบาป.
อภิโยค : (วิ.) แต่งขึ้น, ปรุงขึ้น.อภิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ.
อภิสงฺขต : กิต. ตระเตรียมแล้ว, ตกแต่งแล้ว, ปรุงแต่งแล้ว
อภิสงฺขรณ : นป. การตระเตรียม, การตกแต่ง, การปรุงแต่ง, การสร้าง
อภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง, ความปรุงแต่ง.ณ ปัจ.แปลงกรฺเป็นขรฺแล้วทีฆะ.
อภิสงฺขาริก : ค. สภาพที่สังขารปรุงแต่ง, สภาพที่บุญปรุงแต่ง
อสขตอสงฺขต : (วิ.) อันปัจจัยไม่ปรุงแต่งแล้ว, อันปัจจัยไม่ตกแต่งแล้ว, อันปัจจัยปรุงแต่งไม่ได้แล้ว, ไม่ปรุงแต่งแล้ว, ฯลฯ, ไม่ปรุงแต่ง, ฯลฯ.
อสงฺขต : ค. ไม่มีอะไรปรุงแต่ง, ไม่ถูกรวบรวม
อสงฺขาร : ป., ค. สภาพอันไม่มีอะไรปรุงแต่ง, ไม่ใช่สังขาร
อสงฺขาริก : (นปุ.) ความไม่ปรุงแต่ง. วิ.อสงฺขโรเยวอสงฺขาริกํ.ณิกปัจ.สกัดรูปฯ ๓๖๐.
อายุสงฺขาร : ป. อายุสังขาร, ปัจจัยปรุงแต่งอายุ, ชีวิต
อิทฺธาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งแห่งฤทธิ์, การปรุงแต่งขึ้นด้วยฤทธี.
คนฺถติ, คนฺเถติ : ก. ผูก, มัด, รัด, ถัก, ประกอบ, แต่ง
อภินิมฺมินาติ : ก. นิรมิต, ประดิษฐ์, แต่ง
อุปกฺขฏ : กิต. นำเข้ามาใกล้, จัดแจง, แต่ง
คนฺถ : (วิ.) แต่ง, ร้อยกรอง, เรียบเรียง.
ปพนฺธ : (วิ.) แต่ง, แต่งขึ้น, ผูกขึ้น, เรียบเรียง, ร้อยกรอง. ปปุพฺโพ, พนฺธ พนฺธเน, อ.
กฏุล : ค. ประกอบด้วยสารเผ็ดร้อน, ปรุงด้วยของเผ็ดร้อน
กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
กปฺปิต : (วิ.) มีการตกแต่งเกิดแล้ว วิ. กปฺปา กปฺปนา สญฺชาตา ยสฺมึ โส กปฺปิโต. ชาตตฺเถ อิโต. อันแต่งแล้ว. กปฺปฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
กฺริยากปฺปวิกปฺป : ป. ศาสตร์ว่าด้วยกระบวนการแต่ง (อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่กวี) หมายถึงเกฏุภศาสตร์
กสฺสป : (ปุ.) กัสสป ชื่ออดีตพุทธะ ชื่อพระ เถระครั้งพุทธกาล ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์.
กสิปุ : ป. อาหาร; เครื่องแต่งตัว
เกสการิก : ค., ป. ผู้แต่งผม; ช่างแต่งผม; กัลบก
ขลฺล : ป., ค. รางน้ำ, เครื่องแต่งตัวที่ทำด้วยหนัง; แตก, ร้าว
คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
คนฺถการ : ป. ผู้แต่งหนังสือ, ผู้ร้อยกรอง, ผู้รจนาพระคัมภีร์
คนฺถน : นป. การถัก, การบิด; การแต่งความ, การร้อยกรอง
คนฺถรจนาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์, พระคันถรจนาจารย์.
คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
คามปูฏว : (ปุ.) ชาวบ้านผู้มีการทำให้บริสุทธิ์, ชาวบ้านผู้มีการชำระผิว, ชาวบ้านผู้ชอบ แต่งผิว. คาม+ปูฏว.
เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
จินฺตก, - ตนก : ค., นป. ผู้คิด, ผู้ดำริ, ผู้แต่ง; คนมีความคิด, คนมีความฝักใฝ่, ผู้คิดสร้าง, ผู้แต่ง
จินฺตากวิ : ป. จินตกวี, ผู้สามารถในการแต่งร้อยกรองตามแนวความคิดของตน
จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
ฉนฺทสา : อิต. วิธีแต่งฉันท์
ฉนฺโทวิจิติ : (อิต.) ฉันโทวิจิติ ชื่อวิธีเรียนพระเวท อย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง คือรู้จัก คณะฉันท์ และแต่งฉันท์ได้.
ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
ฏีกาจริย : ป. พระฎีกาจารย์, อาจารย์ผู้แต่งหนังสืออธิบายอรรถกถา
ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
ฐเปติ : ก. วาง, ตั้งไว้, หยุด, เว้น, กำหนดตั้ง, แต่งตั้ง, บรรจุ
ฐาปน : (นปุ.) การแต่งตั้ง, สถาปนา ( การยกย่องโดยแต่งตั้งให้สูงขึ้นเลื่อนให้สูง ขึ้น ). ส. สฺถาปน.