ปล : นป. ชื่อมาตราน้ำหนัก ประมาณ ๔ ออนส์
ปมชฺชติ : ก. ประมาท, มัวเมา, เลินเล่อ, เผลอสติ, ปล่อยปละละเลย; ลูบคลำ, ลูบไล้, ถู; เช็ด, ถูออก
ปมตฺต : ค. ผู้ประมาท, ผู้มัวเมา, ผู้เลินเล่อ, ผู้เผลอสติ, ผู้ปล่อยปละละเลย, ผู้เพิกเฉย
สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
ปลปติ : ก. พูดพร่ำ, บ่นเพ้อ
ปฺลวน : นป. การกระโดด, การลอย
ปลาป : ป. การพูดพร่ำ, การพูดมาก
ปลาปี : ค. ผู้พูดพร่ำ
ปลาเปติ : ก. ให้หนีไป
ปลายี : ค. ผู้หนีไป
ปลาล : นป. ฟาง
ปลาลปุญฺช : ป. กองฟาง
ปลาส : ป. ใบไม้; ความขึ้งเคียด, ความปองร้าย, การตีเสมอ
ปลาสาท : ค. มีใบไม้เป็นอาหาร, มีหนามเป็นอาหาร, แรด
ปลาสี : ค. มีความปองร้าย
ปุล : (วิ.) ใหญ่, เจริญ, รุ่ง. ปุลฺ มหตฺเต, อ.
วาริช : ค. เกิดแต่น้ำ; ปลา
จตุปล : ค. มีสี่ชั้น
จมฺปกนีลุปฺปลาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยดอกไม้ มีดอกจำปา และดอกอุบลเขีนวเป็นต้น.
ธาตุปล : (นปุ.) ดินสอพอง.
นิปฺปลาป : ค. ไม่พูดพร่ำ, ไม่พูดมาก
นิปลาวิต : ค. ซึ่งลอยน้ำ, ซึ่งลอยอยู่ในน้ำ
ปณฺฑุปลาส : ป. ใบไม้เหลือง, ใบไม้เหี่ยว; คนเตรียมออกบวช
ปิลวน, (ปฺลวน) :
นป. ดู ปิลว
ปุปฺผปลาส : ป. กองดอกไม้
เปลา : (อิต.) กระโปรง, ฯลฯ. ดู เปฬา.
โปล : (ปุ.?) ท่อน, ดุ้น, กอง.
รตฺตปลา : อิต. ปลิง
วิปฺปลาป : ป. การบ่น, การพร่ำเพ้อ
สมฺผปฺปลาปี : (ปุ.) คนผู้กล่าวคำเพ้อเจ้อ, คนพูดเพ้อเจ้อ.
อปลาปิ : ค. ผู้ไม่พูดพล่าม, ไม่พูดเหลาะแหละ
อปลายี : (วิ.) ไม่หนี, ไม่หนีไป.
อปลาเลติ,- เฬติ : ก. กอด, จูบ, ละโบม
อปลาสี : ค. ไม่ถือโกรธ, ไม่เห็นแก่ตัว,ใจบุญ
อสมฺผปฺปลาป : ป. การไม่พูดเพ้อเจ้อ, การไม่พูดพล่าม
อุปฺปล : นป. บัว, ดอกบัว; มาตรานับจำนวนสูงเท่ากับ ๑ มีศูนย์ตามหลัง ๙๘ ศูนย์ (มีค่า = ๑๐,๐๐๐,๐๐๐๑๔)
อุปฺปฺลวน : นป. การลอย, การโผล่ขึ้น
อุปล อุปฺปล : (นปุ.) บัว, ดอกบัว, บัวเผื่อน, อุบล (บัวขาบ บัวสาย). วิ. อุทกํ ปิวตีติ อุปลํ อุปฺปลํ วา. อุทกปุพฺโพ, ปา ปาเน, โล. ทกโลโป. แปลว่า หัวใจ ก็ได้. ส. อุตฺปล.
อุปลาเฬติ : ก. ปลอบโยน, ประเล้าประโลม
ติมิงฺคล : (ปุ.) ติมิงคละ ชื่อปลาใหญ่, ปลา ติมิงคละ. วิ. ติมิโน คโล ติมิงฺคโล. ติมํ คิลตีติ วา ติมิงฺคโล. ติมิปุพฺโพ , คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ คิรฺ นิคิรเน, วา, รสฺส ลตฺตํ. ส. ติมฺคล.
อนิมิสอนิมืสฺส : (ปุ.) เทวดา, ปลา (ไม่กระพริบตา).
อนิมิส อนิมืสฺส : (ปุ.) เทวดา, ปลา (ไม่กระ พริบตา).
โคจร : (วิ.) เป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์ วิ. คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค. วิ. คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เที่ยวไป, ว่าย อุ. วาริโคจโร (ปลา) ว่ายในน้ำ. โคปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, อ.
ชลจร : (ปุ.) ทางน้ำ, สัตว์ผู้เที่ยวไปในน้ำ, สัตว์น้ำ, ปลา. วิ. ชเล จรตีติ ชลจโร. อ. ปัจ
ฌส : (ปุ.) สัตว์อันเขาเบียดเบียน, ปลา. ฌสฺ หึสายํ, อ. ส. ฌษ.
ติม : (ปุ.) ติมะ ชื่อปลาชนิดหนึ่ง, ปลา. ส.ติม ปลา.
มจฺฉ : ป. ปลา
มจฺฉา : (ปุ.) ปลา วิ. มสติ ชลนฺติ มจฺโฉ (สัตว์ผู้ลูบคลำ คือว่ายในน้ำ). มสฺ อามสเน, โฉ. แปลง สฺ เป็น จฺ หรือตั้ง มรฺ ปาณ-จาเค, โฉ แปลง ฉ เป็น จฺฉ ลบ รฺ.
มีน : (ปุ.) ปลา (ปลาทั่วไป). มรฺ ปาณจาเค, อีโน, รฺโลโป. มิ หึสายํ วา.