ปลายติ : ก. หนีไป
โกฏิ : (อิต.) คม, ปลาย, มุม, ที่สุด, หาง, ส่วน, เงื่อน. กุฏฺ โกฏิลฺย, อิ, อิณฺ วา.
มตฺถก : (ปุ.) หัว, กระหม่อม, สมอง, สมองศรีษะ, ปลาย, ยอด. มสฺ อามสเน, ตฺโถ, สกตฺเถ โก จ. มสิ ปริ-มาเณ วา.
สิขร : (ปุ. นปุ.) จอม, ยอด, ปลาย, หงอน. สิ. สเย, ขโร.
องฺคณ : (นปุ.) กิเลสชาตเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสชาตเป็นเครื่องถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสเพียงดังเนิน, กิเลสยวนใจ, กิเลสเครื่องยียวน, มลทิน, เปลือกตม, เนิน, ลาน, ลานข้าว, ที่ว่าง, ที่โล่งแจ้ง, ภุมิภาค.องฺค คมเน, ยุ, นสฺส โณ (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุเป็น ณ).
ปลายิ : ก. หนีไปแล้ว
ปลายี : ค. ผู้หนีไป
ชานิปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชานิปติ. ชายาศัพท์ เมื่อมี ปติ อยู่เบื้อง ปลาย แปลงชายาเป็น ชานิ. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓. เป็น ชานิปตี โดยเป็น อ. มวัน. บ้าง.
กกฺกฎกยนฺตก : นป. บันไดมีขอที่ปลายสำหรับเกาะกำแพง
กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
กญฺจิย กญฺชิย : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำข้าว, ข้าว ปลายเกรียน (ปลายข้าวขนาดเล็ก).
กฏ : (ปุ. นปุ.) ไหล่ภูเขา, ลาดภูเขา, ทอง ปลายแขน, กำไลมือ. กฏฺ คติยํ, อ.
กณาชก : นป. ข้าวปลายเกวียน, ข้าวหัก, ข้าวป่น
กมฺพุ : (ปุ.) ทอง, ทองคำ, ทองปลายแขน, ทองกร, กำไลมือ. กมุ อิจฉายํ, พุ. กมฺพฺ สํวรเณ วา. อุ.
กรคฺค : (นปุ.) ปลายแห่งแขน, ปลายแห่งงวง, ปลายแขน, ปลายงวง.
กาณาชิก กาณาชก : (นปุ.) ข้าวปลายเกรียน คือปลายข้าวขนาดเล็ก, ปลายข้าว.
กิลิฏฐ : ๑. ไตร. ถ้อยคำที่ไม่สมต้นสมปลาย;
๒. กิต. เศร้าหมอง, ไม่สะอาด
กิลิฏฺฐ : (ไตรลิงค์) ถ้อยคำผิดเบื้องต้นเบื้อง ปลาย, คำไม่สมต้นสมปลาย, คำขัดแย้ง กัน, ความเศร้าหมอง. กิลิสฺ อุปตาเป, โต, ฏฺฐาเทโส, สฺโลโป.
กุฏ : (ปุ.) ยอด, จะงอย (ปลายที่สุด). กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ.
กุสคฺค : นป. ปลายหญ้าคา
โกฏิก : ค. มียอด, มีปลาย, มีที่สุด
ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
จลย : (ปุ.) ด้าย, ทองปลายแขน, กำไลมือ, เส้นทอง.
จาปโกฏิ : อิต. ที่สุดแล่ง, ปลายธนู
ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
ชิวฺหคฺค : (ปุ.) ปลายแห่งลิ้น, ปลายลิ้น.
ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
ถนคฺค : นป. ปลายนม, หัวนม
ทณฺฑโกฏิ : อิต. ที่สุดแห่งก้าน, ปลายกิ่ง, ปลายไม้เท้า
ทณฺฑสิกฺกา : อิต. เชือกพันปลายไม้เท้า, ไม้เท้าและสาแหรก
ทนฺตกูฏ : ป. ปลายฟัน
ทพฺพิกณฺณ : นป. มุมแห่งทัพพี, ปลายทัพพี
ทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ทมฺปติ. เพราะปติ อยู่เบื้องปลาย แปลงชายา เป็น ทํ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ทํอาเทโส. นามมาลา ๓๗. ส. ทมฺปติ.
ทีปกสิขร : (ปุ. นปุ.) หัวแหลมแห่งเกาะ,ปลายแห่งเกาะ,ท้ายเกาะ.
ธชคฺค : (ปุ. นปุ.) ยอดแห่งธง,ปลายแห่งธง,ยอดธง,ชายธง.
ธญฺญคฺค : นป. ปลายข้าว, รำข้าว
นขสิขา : (อิต.) ปลายเล็บ.
นิธุร : (ปุ.) ทองปลายแขน,กำไลมือ.นิปุพฺโพ, ธุรฺ หุจฺฉเน,อ.
นิยุร : (ปุ.) ทองปลายแขน, กำไรมือ. นิ นเย, อุโร, อิยาเทโส (แปลง อิ เป็น อิย).
ปณข : ป. ปลายนิ้ว
ปปท : ป. ปลายเท้า; หลุม, เหว, นรก
ปปท ปปาท : (ปุ. นปุ.) ปลายเท้า วิ. ปกฎฺฐ ปทํ ปปทํ ปปาทํ วา.
ปปุปฺผก : (นปุ.) ที่เป็นที่บานไสว, เตภูมิ- กวัฏฏะเป็นที่เบิกบาน, ลูกธนูที่มีดอกไม้ ใส่ปลาย, ลูกดอก.
ปพฺพต : (ปุ.) เขา ( เนินที่สูงขึ้นเป็นจอมเด่น ), ภู ( เขา เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม ), ภูเขา. เวสฯ ๗๔๐ และอภิฯ วิ. สนฺธิสํขาเตหิ ปพฺเพหิ จิตฺตตา ปพฺพํ อสฺส อตฺถีติ ปพฺพโต. ต ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. หรือตั้ง ปพฺพฺ ปูรเณ, โต, ออาคโม. เป็น ปพฺพตานิ โดยเป็น ลิงควิปลาส บ้าง.
ปพฺภารฏฺฐาน : นป. ที่เป็นเนินลาด
ปรกฺขร : (ปุ. นปุ.) อักษรหนปลาย.
ปสฺส : ป., นป. ข้าง, สีข้าง, ปีก, เนินผา
ปาทคฺค : นป. ปลายเท้า, ปลายตีน