Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปลื้มปิติ, ปลื้ม, ปิติ , then ปต, ปลม, ปลื้ม, ปลื้มปิติ, ปิติ, ปีตี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปลื้มปิติ, 58 found, display 1-50
  1. ปิติ : อิต. ปิติ, ความยินดี, ความชื่นชม
  2. ปีตี : ค. ผู้ดื่ม
  3. ปิติ : ค. ผู้มีพ่อ, อันเป็นของพ่อ, ซึ่งมาจากพ่อ
  4. ปิติปกฺข : ป. ฝ่ายพ่อ, ข้างพ่อ
  5. อตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้ว (ปีติโสมนสฺเสน คหิตมโน), ยินดี, ดีใจ, ปลื้มใจ, พอใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน.อตฺต –สำเร็จรูปมาจาก อาปุพฺโพ, ทา อา ทาเน, โต.รัสสะ อา เป็น อ ลบ อา ที่ ทา เหลือเป็น ทฺแปลง ทฺ เป็นตฺ.
  6. เทฺวปิติ : ค. มีขนสองขน
  7. นิปฺปิติ : ค. ลูกไม่มีพ่อ, ผู้ไม่มีบิดา
  8. ปิติ : (วิ.) ผู้เป็นไปกับด้วยบิดา.
  9. ปิติ : ค. ไม่มีพ่อ
  10. อมาตาปิติ : ค. ไม่มีมารดาบิดา, กำพร้า
  11. ทุสฺสนา : (อิต.) กิริยาที่น่าชัง, กิริยาอันน่าชัง, ความไม่พอใจ, ความประทุษร้าย. ทุสฺ โทสนอปฺปิติเยสุ. ยุ. ซ้อน สฺ อา อิต.
  12. ปโมทติ : ก. บันเทิง, ร่าเริง, เบิกบาน, ยินดี, ปลื้มใจ
  13. ปิตุลานี : อิต. ดู ปิติจฺฉา
  14. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  15. เปม : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นที่รัก, ความเป็นแห่งความปลื้ม, ความเป็นแห่งความรัก. วิ. ปิยสฺส ภาโว เปมํ. อิม ปัจ. แปลง ปิย เป็น ป. อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปิโน ภาโว เปมํ. อภิฯ.
  16. เปมนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความปลื้ม, ฯลฯ, ชวนให้ปลื้ม ฯลฯ. เปม+อนีย ปัจ.
  17. โมชฺช โมทน : (นปุ.) ความบันเทิง, ความชื่นชม, ความยินดี, ความร่าเริง, ความปลื้มใจ. มุทฺ หาเส, โณ, โณฺย, ยุ.
  18. โมท : (ปุ.) ความบันเทิง, ความชื่นชม, ความยินดี, ความร่าเริง, ความปลื้มใจ. มุทฺ หาเส, โณ, โณฺย, ยุ.
  19. วิตฺต : นป. ความปลื้มใจ, สมบัติ
  20. สภาชน : (นปุ.) การแนะนำ, ความพอใจ, ความสุภาพ, ความมีอัธยาศัย, ความเคารพ, ความสมควร, ความถูกต้อง, ความสมเหตุผล. สภาชฺ ปิติทสฺสเนสฺ ปีติวจเนสุ วา, ยุ.
  21. สินิทฺธ : (วิ.) สิเนหะ, รัก, รักใคร่, มีใจรักใคร่, ละเอียด, เรียบ, กลมเกลียว, เกลี้ยงเกลา, งดงาม, อ่อน, อ่อนโยน, อิ่มใจ, ชอบใจ, อาลัย, สินิท, สนิท, สนิธ. สินิหฺ ปิติยํ, โธ, หสฺส โท.
  22. อนตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้วหามิได้, น้อยใจ, ไม่พอใจ.
  23. อนุรุชฺฌติ : ก. ยินดี, พอใจ, ปลื้มใจ, ตื่นเต้น
  24. อพฺยาเสกอวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิดจิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอพฺยาเสกํ.นวิอาสิจฺธาตุอภิฯลงอปัจ.ฏีกาอภิฯลงณปัจ.
  25. อพฺยาเสก อวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและ นัยน์ตาให้เกิด จิตฺตสฺส อกฺขิโน จ ปิติชนกํ วตฺถุ อพฺยาเสกํ. น วิ อา สิจฺธาตุ อภิฯ ลง อ ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง ณ ปัจ.
  26. อภิหสติ : ก. ดีใจ, ร่าเริง, ปลื้มใจ, หัวเราะ
  27. อเสจน : (วิ.) ยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิด, ชื่นใจ, ชื่นตา, หน้าตาชื่นบาน, หน้าตาเบิกบาน, ยั่วยวน.จิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอเสจนํนาม.
  28. อานนฺท : (ปุ.) ความเพลิดเพลินโดยยิ่ง, ความเพลิดเพลินยิ่ง, ความยินดีมาก, ความปลื้มใจ, ความรื่นเริง.วิ. อา ภุโสนนฺทยตีติอานนฺโทอาปุพฺโพ, นนฺทฺนนฺทเน, อ.
  29. อานนฺที : ๑. อิต. ความยินดี, ความเพลิดเพลิน ; ๒. ค. ยินดี, ร่าเริง, ปลื้มใจ
  30. อานนฺน : (ปุ.) ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความปลื้มใจ.อาปุพฺโพ, นนฺทฺสมิทฺธิยํ, อ.ทสฺสโน.
  31. อุทคฺค : (วิ.) สูง, บันเทิง, บันเทิงใจ, เบิกบาน ใจ, ดีใจ, ปลื้มใจ, มีกายและจิตไปใน เบื้องบน, มีผลในเบื้องบน. อุท+อคฺค. อุท คือ ความยินดี, ฯลฯ. เป็น อุทฺทคฺค โดยลง ทฺ อาคม บ้าง.
  32. อุพฺพิล : นป. ความเบิกบาน, ความปลื้มใจ
  33. โอทคฺย : นป. ความปิติยินดี, ความร่าเริง
  34. ปตรติ : ก. ผ่านไป, ซึมซาบ, ข้ามไป, ไหลท่วมไป, ล้น, เดือดพล่าน
  35. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  36. ปิตุ : ป. พ่อ
  37. ปีต : ๑. ค. อัน...ดื่มแล้ว; ๒. ค., ป. เหลือง, สีเหลือง
  38. ปีติ : อิต. ความอิ่มใจ, ความยินดี
  39. ปุโลม : (ปุ.) ปุโลมะ ชื่อของไวปจิตตาสูร ชื่อ ๑ ใน ๒ ชื่อ, ไวปจิตตาสูร.
  40. ปูต : (วิ.) สะอาด, หมดจด, แจ่มใส, เป็นมงคล, ดี. ปุ ปวเน, โต, ทีโฆ.
  41. ปูติ : (อิต.) ความชำระ, ความสะอาด. ปุ ปวเน, ติ.
  42. ปูติ, - ติก : ค. เสีย, เน่า, บูด
  43. ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
  44. เปต : (วิ.) ผู้ละโลกไปแล้ว, ผู้ตายแล้ว.
  45. โปต : (ปุ.) เรือ, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือน้อย), เรือเล็กของกำปั่น, ลูก, ลูกน้อย. ปุ ปวเน คติยํ วา, โต.
  46. ภูตปติ : (ปุ.) ภูตปติ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ภูตานํ สติตานํ ปต ภูตปติ.
  47. นิปตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก, การหล่น, การล้ม, การตกไป, ฯลฯ, ความตก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, ยุ.
  48. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  49. ปตฺต : (นปุ.) การตก, การตกไป. ปตฺ ปตเน, โต.
  50. ปตฺติ : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ, กองพลราบ. วิ. ปตฺตีติ ปตฺติ. ปตฺ คมเน, อิ, ทฺวิตฺตํ. ปเทน อตตีติ วา ปตฺติ. ปทปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ, อโลโป, ทสฺส โต. คนกล้าหาญ ก็แปล.
  51. [1-50] | 51-58

(0.0698 sec)