กนฺตติ : ก. ตัด; ปั่น; สลัก; เจาะ
ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
กนฺติก : ค. ๑. ผู้ปั่น, ผู้หมุน, ผู้ติด;
๒. ผู้ใคร่, น่าพอใจ
โขภ : (ปุ.) ความกำเริบ, ความปั่นป่วน. ขุภฺ, สญฺจลเน, อ, ยุ.
โขภน : (นปุ.) ความกำเริบ, ความปั่นป่วน. ขุภฺ, สญฺจลเน, อ, ยุ.
คาห : (วิ.) จับ,กุม,ยึด,ถือ. คหฺ อุปาทาเน,โณ.ผู้จับ วิ. คณ.หาตีติ คาโห.กวน,รับกวน,ทำให้ ปั่นป่วน. คาหุ วิโลลเน, อ.
จลาจล : (วิ.) หวั่นไหว, วุ่นวาย, ปั่นป่วน.
ฌามร : (นปุ.?) เหล็กในปั่นฝ้าย, เข็มเย็บผ้า.
ตูลเสจน : นป. ไนปั่นฝ้าย
นิโพเธติ : ก. ปลุก, ทำให้ตื่น
ปฏิโพธ : ป. การปลุก, การตื่น (จากหลับ)
ปโพธน : นป. การปลุก, การกระตุ้นเตือน, การตรัสรู้
ปโพเธติ : ก. ปลุก, ให้ตื่น, กระตุ้นเตือน, ให้เข้าใจ, ให้ตรัสรู้
พทฺธา : (อิต.) การตี, การประหาร, การทำให้ปั่นป่วน, การเบียดเบียน, ความหยิ่ง. พาธฺ วิโลลเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ธฺ รัสสะ อา เป็น อ.
พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
โพธกร : (ปุ.) คนทำซึ่งการปลุก, คนให้คนอื่นรู้ด้วยเสียงดาล, คนนั่งยามตีทุ่มโมง. วิ. โพธํ ปโพธนํ กโรตีติ โพธกโร. โพธ-ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ.
โพธนีย, โพธเนยฺย : ค. ควรแก่การตรัสรู้, สามารถตรัสรู้ได้, พอสอนให้รู้ธรรมได้,พอปลุกให้ตื่นได้
โพเธติ : ก. ปลุกให้ตื่น, ให้รู้สัจจ์
โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
มถิต : (วิ.) คน, กวน, ระคน, เขย่า, ให้ปั่นป่วน. มถฺ วิโลลเน, โต อิอาคโม.
สารทฺธ : ๑. กิต. เริ่มแล้ว, ปรารภแล้ว;
๒. ค. ปั่นป่วน, รุนแรง
อกฺกุล : ค. วุ่นวาย, สับสน, ปั่นป่วน
อนารมฺภ : ๑. ค. ไม่ปั่นป่วน, ไม่ยุ่ง ;
๒. ไม่ปรารภ
อวายาปิต : ค. ไม่ให้ทอแล้ว, ไม่ให้ปั่นแล้ว
อามณฺฑลิย, - ลิก : นป. การวนเวียน, การปั่นป่วน, การรวนเร
อาวิลตฺต : นป. ความรบกวน, ความปั่นป่วน, ความขุ่นมัว
อาวิลติ : ก. หมุน, ปั่นป่วน, วุ่นวาย, ขุ่น
อุฏฺฐ าปน : (นปุ.) การยัง...ให้ลุกขึ้น, การปลุก. อุปุพฺโพ, ฐา คตินิวตฺติยํ, ณาเปปจฺจโย, ยุปจฺจโย จ.
อุปวียติ : ก. อันเขาทอ, อันเขาปั่น
อุลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, ระลอกใหญ่, ลูกคลื่น, คลื่นใหญ่, ความปั่นป่วน, ความไม่ราบ คาบ. อุปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อ ซ้อน ลฺ แปลง ฬ เป็น ล. ส. อุลฺโลล.
อุลฺโลเลติ : ก. โลเล, เหลาะแหละ, ปั่นป่วน; หวัง, จำนง
อปิจ โย ปน : (อัพ. อุปสรรค) แม้นอนึ่งโสด.
ปนสวิเสส : (ปุ.) ทุเรียน.
โคปน : (นปุ.) การคุ้มครอง, การรักษา, ความคุ้มครอง, ความรักษา. คุปฺ โคปนรกฺขเณสุ, โณ, ยุ.
โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
ฉิยติ, ฉุฏติ, - เฏติ, ฏยติ : ก. ตัด, ทำให้ขาด, บั่น, ทอน
ฉุรติ : ก. ตัด, ทำให้ขาด, บั่น, ทอน
เฉท เฉทน : (วิ.) ตัด, โกน, บั่น, ทอน, เฉือน, เชือด, แขวะ, ควัก, ขาด, ทะลุ, แตก, ทำลาย, สลาย. ฉิทิ เทฺวธากรณฉิชฺชเนสุ, อ, ยุ.
ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
มนฺตชปฺปน : (นปุ.) การกล่าวมนต์, การร่ายมนต์, มนฺต+ชปฺปน.
มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
มิสฺส, มิสฺสก : ค. เจือ, ปน
มิสฺเสติ : ก. เจือ, ปน, ผสม
โวตฺถปน : นป. โวตถัปปน (จิต)
กญฺญชปฺปน : นป. การกระซิบ
กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.