กสิ : (อิต.) การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสนํ กสิ. เครื่องไถ. ลง อี ปัจ. เป็น กสี บ้าง.
กสิกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการไถ, การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสิ เอว กมฺมํ กสิกมฺมํ.
กสิกร กสิการ กสิการก : (ปุ.) คนผู้ทำการไถ, คนผู้ทำการเพาะปลูก, ชาวนา, ชาวไร่.
กสิภณฺฑ : (นปุ.) อุปกรณ์ทำนา, อุปกรณ์การเพาะปลูก.
กสิมา : ป. ชายผู้เป็นสามี, ผู้ปลูกฝัง, ผู้ให้กำเนิด
กสิ, - สี : อิต. การเพาะปลูก, การไถ, การหว่าน
กสี : อิต. การเพาะปลูก, การไถนา
ขิล, ขิฬ : นป. ความด้าน, ความกระด้าง; ที่ซึ่งปลูกอะไรไม่ขึ้น
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
ชนาลย : (ปุ.) ปะรำ ชื่อของสิ่งปลูกสร้างทำ ขึ้นชั่วคราว มีเสาหลังคาแบน ดาดด้วยผ้า หรือสิ่งอื่นๆ, มณฑป ชื่อของเรือนยอดรูป สี่เหลี่ยม วิ. ชนาน มาลโย สนฺนิปาตฏฺฐานํ ชนาลโย.
ธญฺญสมวาปก : นป. ข้าวปลูก
มาฬ : (ปุ.) เรือนยอดเดียว, โรง คือสิ่งที่ปลูกไว้สำหรับอยู่ หรือไว้ของ ไม่มีพื้นไม้. มา มาเน, โฬ.
โรป, - ปก : ค. ผู้ปลูก, ผู้หว่าน
โรเปติ : ก. ปลูก, หว่าน
วฑฺฒิ : ก. เจริญ, เลี้ยงดู, ปลูกฝัง
สสฺสพีช : (นปุ.) ข้าวปลูก คือข้าวเปลือกที่ชาวนาเก็บไว้สำหรับทำพันธุ์.
สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
สาลิ : (ปุ.) ข้าวไม่มีแกลบ, ข้าวสาลี (ข้าวที่เพาะปลูกกันในประเทศหนาว). สาลฺ สิลาฆายํ, อิ. อถวา, เส เขตฺเต ลียติ อลฺลึยตีติ สาลิ, สปุพฺโพ, ลิ สิเลสเน, อิ. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
อภินิโรเปติ : ก. ปลูกฝัง, ตั้งไว้
อภิโรปิต : กิต. ปลูก, เพาะ, ชำแล้ว; ทำใจให้ตั้งมั่นแล้ว
อโรปิต : ค. ไม่ปลูก, ไม่ตั้งไว้
อารามโรป : ป. คนทำสวน, คนปลูกต้นไม้ในอาราม
อาโรเปติ : ก. ปลูก, เพาะ, ยกขึ้น ; ฟ้องร้อง, กล่าวหา; สั่งสอน
อุพฺพรี : อิต. ที่มีพืชอุดมสมบูรณ์, ที่เพาะปลูก; ภรรยา, เมีย
โอโรปน : (นปุ.) การปลงลง, การปลง, การนำลง, การโกน, การตัด, การเพาะ, การหว่าน, การปลูก, การปักไว้, การตั้งไว้. โอปุพฺโพ, รุป โอโรปนาทีสุ, ยุ.
ปิลก : ป. ต่อมเล็กๆ, หูด, สิว, ฝี, ไฝ
เปลก : (ปุ.) กระต่าย. เปลฺ คติยํ, ณฺวุ.
อุปฺปลก : ป. คล้ายดอกบัว; ชื่อนรกขุมหนึ่ง
นิโพเธติ : ก. ปลุก, ทำให้ตื่น
ปฏิโพธ : ป. การปลุก, การตื่น (จากหลับ)
ปโพธน : นป. การปลุก, การกระตุ้นเตือน, การตรัสรู้
ปโพเธติ : ก. ปลุก, ให้ตื่น, กระตุ้นเตือน, ให้เข้าใจ, ให้ตรัสรู้
พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
โพธกร : (ปุ.) คนทำซึ่งการปลุก, คนให้คนอื่นรู้ด้วยเสียงดาล, คนนั่งยามตีทุ่มโมง. วิ. โพธํ ปโพธนํ กโรตีติ โพธกโร. โพธ-ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ.
โพธนีย, โพธเนยฺย : ค. ควรแก่การตรัสรู้, สามารถตรัสรู้ได้, พอสอนให้รู้ธรรมได้,พอปลุกให้ตื่นได้
โพเธติ : ก. ปลุกให้ตื่น, ให้รู้สัจจ์
โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
อุฏฺฐ าปน : (นปุ.) การยัง...ให้ลุกขึ้น, การปลุก. อุปุพฺโพ, ฐา คตินิวตฺติยํ, ณาเปปจฺจโย, ยุปจฺจโย จ.