จุลฺลิ : (นปุ.) เตา, เตาไฟ, เชิงกราน, ปล่อง, หม้อดิน จุลฺลฺ ภาวกรเณ, อิ. ฎีกาอภิฯ จุลฺล หาวกรเณ.
วิวร : นป. ช่อง, ปล่อง, โพรง
อวาฏ : (ปุ.) บ่อ, หลุม, หลุมดิน, ปล่อง, รู, โพรง, โพรงใต้ดิน.อวฺรฺกขเณ, อาโฏ.เป็นอาวาฏก็มี.
ธูม : (ปุ.) ความโกรธ, ควัน, ควันไฟ, ความตรึก, กามคุณ ๕, ธรรมเทศนา. ธูปฺ กมฺปนสนฺตาเปสุ, โม. กัจฯ และรูปฯ ลง มนฺ ปัจ. ลบ นฺ. ส. ธูม.
กจมาล : ป. ควัน
ขานิก : (นปุ.) โพรง, รู, ช่อง, ปล่อง.
ฆนนาภิ : ป. ควัน
ชีมูตวาหี : ป. ควัน
อาวาฏ : (ปุ.) ขุม, หลุม, บ่อ, หลุมดิน, โพรง ใต้ดิน, ปล่อง. อวฺ รกฺขเณ, อาโฏ. ทีฆะ ตันธาตุ.
พิล : (นปุ.) ปล่อง, ช่อง, โพรง, รู, ส่วน, ชิ้น, เสา. พิลฺ เภทเน นิสฺสเย วา, อ.
อวฏ : (ปุ.) ปล่อง, ช่อง, รู, ถ้ำ, หนอก, ต้นคอ, ต้นไม้.อาปุพฺโพ, วฏฺวิภาชเน, อ, รสฺโส.
กรมาล : ป. ควันไฟ
กุเหลิกา : อิต. การอบ, การรมควัน
ธุม : (ปุ.) ควัน, ควันไฟ, ธุมฺ สํฆาเต, อ.
ธูป : (ปุ.) ธูป เครื่องหอมสำหรับจุดเอาควันลม เครื่องหอมสำหรับจุดบูชา. ธูปฺ สนฺตาเป, อ. ส. ธูป.
ธูปน : (นปุ.) การอบ, การรม, การอบควัน, เครื่องหอม, เครื่องฉุน, เครื่องเทศ. ธูปฺ สนฺตาเป, ยุ.
ธูปายติ : ก. บังหวนควัน, รมควัน
ธูปายิต ธูปิต : (วิ.) เป็นควัน, กลุ้มเป็นควัน, อบควัน, รมควัน.
ธูเปติ : ก. อบหรือรมควันด้วยน้ำมัน, บังหวนควัน
ธูมกฏฉฺฉุ : (ปุ.) ทัพพีตักควัน, แว่นเวียนเทียน.
ธูมกาลิก : ค. ชั่วระยะเวลาแห่งควัน, ชั่วระยะเวลาเผาศพ
ธูมชาล : นป. กลุ่มแห่งควัน
ธูมนฺธ : ค. มืดไปด้วยควันไฟ
ธูมายติ : ก. รมควัน, บังหวนควัน, เป็นควันขึ้น, มืดมัว
ธูมายนา : อิต. การบังหวนควัน, การรมควัน
ธูมายิตตฺต : (วิ.) ปรากฏราวกะว่าควัน วิ. ธูโม วิย ทิสฺสตีติ ธูมายิตตฺตํ. ธูมศัพท์ อายิตตุต ปัจ. กัจฯ ๓๕๗.
นิทฺธูปน : ค. ซึ่งไม่มีกลิ่นหอม, ซึ่งไม่อบกลิ่น, ซึ่งไม่รมควัน
ปธูปาติ : ก. พ่นควัน, บังหวนควัน
ปธูปิต : กิต. (อันเขา) พ่นควันแล้ว, บังหวนควันแล้ว
วิตฺถมฺภนฺ : นป. การสูบควัน, การกระจาย, การขยายตัว, การพอง
วิตฺถมฺเภติ : ก. สูบควัน; กระจาย, ขยายตัว, พอง
วิธูเปติ : ก. ปรุง, พัด, อบควัน, รมควัน
วิธูม : ค. ปราศจากควัน
สนฺธูเปติ : ก. รมควัน, พ่นควัน
อุกฺขลิมสิ : (นปุ.) เขม่าที่ก้นหม้อ, ดินหม้อ (ละอองดำ ๆ ซึ่งเกิดจากควันไฟที่หุงข้าว ด้วยฟืนติดอยู่ที่ก้นหม้อ).
จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
มิคพนฺธนี มิควนฺธนี มิคพนฺธีนี : (อิต.) เครื่องดัก, บ่วง. วิ. มิเค พนฺธตีติ มิคพนฺธินี, มิคปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี, อินี วา. ศัพท์ที่ ๒ แปลง พ เป็น ว.
อคฺควนฺต : ค. ผู้ทรงคุณอันเลิศ, ผู้ประเสริฐ